Page 52 - รายงานประจำปี 2565
P. 52

แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย



                                                                               โดย กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ


                     โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค
               เพื่อกำหนดแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และกำหนดแนวทางการใชที่ดินตามศักยภาพของทรัพยากร
               เพื่อคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพ

               เหมาะสมตอพืชดังกลาวตลอดไป เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการขยายผลแผนพัฒนาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
               ในอนาคตแบบบูรณาการ

                     หลักการและเหตุผล
                     การวางแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตามศักยภาพของดินและที่ดิน มีสวนสำคัญที่จะทำใหประเทศไทย

               มีการพัฒนาดานการเกษตรใหอยูในระดับที่สามารถแขงขันไดเมื่อเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทั้งนี้
               กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน เห็นความสำคัญของการอนุรักษพันธุพืชบงชี้

               ทางภูมิศาสตร ซึ่งเปนพืชที่มีความโดดเดนที่ปลูกในประเทศไทยเพียงแหงเดียว และเพื่อเปนการคุมครองทรัพยากรดิน
               ที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร พรอมทั้งสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาว
               ตลอดไป เพื่อขยายผลในการพัฒนาแผนการผลิตพืชไปในพื้นที่อื่น ๆ เปนการรักษาพันธุพืช และพัฒนาพันธุพืช

               บางชนิดใหกลับมามีความหลากหลายทางชีวภาพเชนเดิม จึงไดจัดทำโครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
               ของประเทศไทยขึ้น

                     ขอบเขตที่ศึกษา

                     พื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด ประกอบดวย ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ
               และหอมแดงศรีสะเกษ ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ สับปะรดทาอุเทน และลิ้นจี่นครพนม ในพื้นที่จังหวัดนครพนม
               และขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย

                     ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ  หมายถึง ทุเรียนพันธุหมอนทอง พันธุชะนี

               พันธุกานยาว ที่มีรสชาติหวานมัน มีกลิ่นหอมปานกลาง เนื้อละเอียด
               เนียนนุม แหง สีเนื้อเหลืองสม่ำเสมอทั้งผล ซึ่งปลูกในพื้นที่อำเภอกันทรลักษณ
               อำเภอขุนหาญ และอำเภอศรีรัตนะ ของจังหวัดศรีสะเกษ มีเอกลักษณที่
               โดดเดน คือ เนื้อแหง กรอบนอกนุมใน รสชาติมัน ไมหวานจัด และกลิ่นไมแรง

               ปลูกพื้นที่ 3 อำเภอ ไดแก อำเภอกันทรลักษ อำเภอขุนหาญ และอำเภอศรีรัตนะ ซึ่งเปนบริเวณพื้นที่ปลูก
               ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ปจจุบันมีพื้นที่ปลูก 15,171 ไร พื้นที่ใหผล 5,490 ไร ผลผลิตรวมทั้งจังหวัดเฉลี่ย
               4,213 ตันตอป

                                                     กระเทียมศรีสะเกษ เปนกระเทียมพันธุเบาหรือพันธุพื้นเมือง

                                                 ของจังหวัดศรีสะเกษ มีลักษณะเดนที่สำคัญ คือ เปลือกนอกสีขาวแกมมวง
                                                 เปลือกบาง หัวแนน กลิ่นฉุน รสเผ็ดรอน ซึ่งปลูกในพื้นที่อำเภอเมืองศรีสะเกษ
                                                 อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมนอย อำเภอกันทรารมย อำเภออุทุมพรพิสัย
                                                 อำเภอวังหิน และอำเภอพยุห ของจังหวัดศรีสะเกษ ในป พ.ศ. 2564

                                                 มีพื้นที่ปลูก 638 ไร ผลผลิตเฉลี่ย 826 กิโลกรัมตอไร  ผลผลิตรวม 527 ตัน





                       50
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57