Page 56 - รายงานประจำปี 2565
P. 56

การศึกษากระบวนการปรับปรุงแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขาโดยใชแบบจำลอง

                             ภูมิสารสนเทศและการจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนแบบจำลอง: ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง


                                                                               โดย นายดิเรก คงแพ และ นางสาวสุภาพร สินศิริวัฒนา
                                                                                          กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ

                     ปจจุบันเทคโนโลยีดานสารสนเทศภูมิศาสตรไดถูกนำเขามาใชเปนเครื่องมือในกระบวนการผลิตฐานขอมูล

               สำคัญที่นำมาใชในกระบวนการการวางแผนการใชที่ดิน ซึ่งจะชวยใหฐานขอมูลดังกลาวมีความละเอียด
               และเปนปจจุบันมากขึ้น ดังนั้นการวิเคราะหแผนการใชที่ดินโดยพัฒนาแบบจำลองมาใชงานสามารถชวยพัฒนา
               กระบวนการวางแผนการใชที่ดินใหมีความรวดเร็วเปนปจจุบัน อีกทั้งการจัดทำฐานขอมูลสามารถพัฒนาการ
               จัดเก็บขอมูลไมใหซ้ำซอน สรางความเขาใจใหกับผูที่นำขอมูลแผนการใชที่ดินไปใชไดอยางถูกตอง ภายใต

               แผนการใชที่ดินที่สามารถวิเคราะหไดอยางถูกตอง แมนยำ การดำเนินการวิเคราะหกระบวนการดังกลาวโดยใช
               แบบจำลองภูมิสารสนเทศ และการจัดทำฐานขอมูลเพื่อใหสามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงมีการศึกษา
               กระบวนการวิเคราะหแบบจำลองระบบภูมิสารสนเทศศาสตร (Geo-informatics System: GIS) เพื่อใชในการวิเคราะห
               แบบอัตโนมัติดวย Model Builder สามารถชวยลดเวลาในการวิเคราะหขอมูล และสามารถใชในการปรับปรุง

               แผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขาใหมีความทันสมัยและเปนปจจุบันตามกระบวนการวางแผนการใชที่ดินได

                     ดังนั้น กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดทำการศึกษากระบวนการปรับปรุง
               แผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขาโดยใชแบบจำลองภูมิสารสนเทศ และการจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุน
               แบบจำลองขึ้น โดยกำหนดรูปแบบการใชประโยชนที่ดินเพื่อการพัฒนาดานการเกษตรใหเหมาะสมกับ
               ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู พรอมทั้งเสนอแนวทางการจัดการทรัพยากรที่ดินลุมน้ำสาขา ซึ่งนำไปสูการใชประโยชน

               จากทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนตอไป การพัฒนาแบบจำลอง Model Builder เพื่อใชวิเคราะหฐานขอมูล
               ในการจัดลำดับการใชคำสั่ง Geo-Processing และ โปรแกรมทางดาน GIS มีสวนที่ผูใชสามารถเขียนโปรแกรม
               เพิ่มเติมลงไปได ในการเขียนโปรแกรม (Scrip) เพิ่มเติมนั้นมักนิยมเขียนโปรแกรมดวยภาษาไพธอน (Python) ซึ่งทำให
               นักพัฒนาโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมไดสะดวกมากขึ้น และศึกษา Object-Oriented Programming

               (OOP) ตาง ๆ ของโปรแกรมทางดาน GIS สามารถพัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติมใหตรงกับ ความตองการของผูใชงานได
               ที่สามารถสรางงานไดหลากหลายกระบวนทัศน (Multi-Paradigm Language) โดยเปนการนำเอาหลักการ
               ของกระบวนทัศน (Paradigm) แบบ OOP, Structured, Functional และ Aspect-Oriented Programming

               กระบวนการปรับปรุงแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขา โดยใชแบบจำลองภูมิสารสนเทศและการจัดทำฐานขอมูล
               เพื่อสนับสนุนแบบจำลอง: ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง











                                                    พื้นที่เกษตร พื้นที่ชุมน้ำ







                       54
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61