Page 49 - รายงานประจำปี 2565
P. 49

สถานภาพทรัพยากรดินในเขตพื้นที่ศึกษา           การชะลางพังทลายของดินในเขตพื้นที่ศึกษา
                           พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง               พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง


                     สถานภาพทรัพยากรดินรวมกับลักษณะและ               พื้นที่โดยรอบพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
               สมบัติของดินที่มีผลตอการใชประโยชนทางการเกษตร     สวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
               ในพื้นที่ศึกษา พบสถานภาพทรัพยากรดินสวนใหญ         จึงไมคอยมีปญหาเรื่องการสูญเสียดิน มีพื้นที่เพียง

               เปนดินตื้น มีเนื้อที่ 83,472 ไร หรือรอยละ 14.72     รอยละ 1.09 ที่มีระดับการชะลางพังทลายของดิน
               ของพื้นที่ศึกษา รองลงมา คือ ดินทรายจัด 19,877 ไร      รุนแรง และรอยละ 0.04 พบปญหาการชะลางพังทลาย
               หรือรอยละ 3.51 ของพื้นที่ศึกษา ที่เหลือเปนพื้นที่        ของดินรุนแรงมากและรุนแรงมากที่สุด
               ที่ไมมีขอจำกัดรุนแรง


                     จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินในพื้นที่ศึกษา ระหวางป พ.ศ. 2553 ป พ.ศ. 2558 และ

               ป พ.ศ. 2562 พบวา การขยายของเมืองสงผลใหมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินทุกประเภท โดยแนวโนม
               ของพื้นที่เบ็ดเตล็ด ไดแก พื้นที่ชุมน้ำ พื้นที่ลุม ไมละเมาะ พื้นที่ทุงหญา และอื่น ๆ มีแนวโนมลดลง สวนพื้นที่ชุมชน

               และสิ่งปลูกสราง พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม พื้นที่แหลงน้ำ มีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยสวนใหญพื้นที่เกษตรกรรม
               ในพื้นที่ศึกษาโดยรอบพื้นที่ชุมน้ำ มีสภาพการใชที่ดินเปนนาขาว ยางพารา และปาลมน้ำมัน




















                       47
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54