Page 47 - รายงานประจำปี 2565
P. 47

แผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ

                                                         แมน้ำสงครามตอนลาง


                                                                               โดย กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ


                     โครงการแผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแมน้ำสงครามตอนลาง
               จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกำหนดแผนการใชที่ดินโดยรอบพื้นที่ชุมน้ำและกำหนดแนวทางการใชที่ดินตาม
               ศักยภาพของทรัพยากร เพื่อศึกษาความรูความเขาใจของชุมชนโดยรอบพื้นที่ชุมน้ำตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

               และกำหนดมาตรการในการอนุรักษและฟนฟูพื้นที่ชุมน้ำแหงนี้ใหคงอยูคูชุมชน โดยคงความหลากหลายทางชีวภาพ
               ไวใหชุมชนไดใชประโยชน เพื่อการรักษาดุลยภาพของลักษณะทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
               โดยคำนึงถึงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนในพื้นที่โดยรอบพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง

                     หลักการและเหตุผล

                     พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง ไดรับการประกาศรับรองเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
               หรือแรมซารไซต เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 เปนแรมซารไซต ลำดับที่ 2,420 ของโลก และเปนแรมซารไซต
               ลำดับที่ 15 ของประเทศไทย เปนแหลงน้ำจืดที่มีระบบนิเวศหายาก ไดแก ปาบุงปาทามผืนใหญ ซึ่งมีความสำคัญ
               ในเชิงความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดพันธุพืชและสัตวในระบบนิเวศ เปนแหลงที่อยูอาศัยของพันธุปลาน้ำจืด

               เปนแหลงประมงพื้นบานที่มีความสำคัญตอความมั่นคงทางอาหารของคนในพื้นที่ ตลอดจนเปนแหลงวางไขของปลา
               จากแมน้ำโขงที่อพยพเขามาเพื่อผสมพันธุในชวงฤดูน้ำหลาก พื้นที่นี้มีการสำรวจพบความหลากหลายของพันธุปลา
               อยางนอย 124 ชนิด พันธุพืช 208 ชนิด จึงมีทั้งความสำคัญในเชิงวัฒนธรรมและเศรษฐกิจทองถิ่นและภูมิภาค
               แตในปจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ดังกลาวเริ่มมีความเสื่อมโทรม โดยมีสาเหตุจาก

               ภัยธรรมชาติ ไดแก ภัยแลง น้ำทวม อัคคีภัย และจากการกระทำของมนุษย ไดแก การบุกรุกและทำลายปา
               ในเขตตนน้ำเพื่อการทำเกษตรกรรม ดังนั้น เพื่อใหเกิดการตระหนักในคุณคาและความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำที่ควร
               ไดรับการอนุรักษไวเปนมรดกทางธรรมชาติ เพื่อใหชุมชนไดใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมอยางยั่งยืน
               ตลอดไป กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ จึงไดจัดทำโครงการแผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ

               ที่มีความสำคัญระหวางประเทศแมน้ำสงครามตอนลางขึ้น

                     วิธีการดำเนินโครงการ
                     มีการกำหนดพื้นที่ศึกษาเปนแนวกันชน (Buffer) ในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
               คิดเปนเนื้อที่ทั้งหมด 906.76 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 566,722 ไร ครอบคลุมพื้นที่ อำเภอทาอุเทน อำเภอบานแพง

               อำเภอศรีสงคราม อำเภอนาหวา อำเภอโพนสวรรค อำเภอนาทม จังหวัดนครพนม และอำเภออากาศอำนวย
               จังหวัดสกลนคร โดยคณะผูจัดทำโครงการไดทำการศึกษาและวิเคราะหสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก
               ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรปาไม รวมกับการพิจารณาลักษณะการใชประโยชนที่ดิน ศึกษาและ
               วิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม รวมถึงขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับพื้นที่ในเขตปาไมตามกฎหมาย และนโยบาย
               ของรัฐที่เกี่ยวของกับพื้นที่ที่มีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการใชที่ดิน มติคณะรัฐมนตรีเรื่องการจำแนกการใชประโยชน

               ที่ดินในพื้นที่ปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ และมติคณะรัฐมนตรีเรื่องการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม และพิจารณา
               กรอบนโยบายที่เกี่ยวของกับการกำหนดเขตการใชที่ดินภายในพื้นที่ศึกษา ตามยุทธศาสตรของจังหวัด และแผนพัฒนา

               การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยพิจารณาความตองการของทองถิ่นเปนสำคัญ










                       45
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52