Page 43 - รายงานประจำปี 2565
P. 43

การศึกษาไดคัดเลือกพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ 2 แหง ของจังหวัดนครราชสีมา เปนกรณีศึกษา ไดแก

               (1) ปาสงวนแหงชาติ ปาหนองแวงและปาดงพญาเย็น แปลงที่สอง ทองที่ตำบลคอนเมือง ตำบลกฤษณา อำเภอสีคิ้ว
               และทองที่ตำบลหวยบง อำเภอดานขุนทด เนื้อที่ 667 ไร 0 งาน 68 ตารางวา (667-0-68 ไร) เกษตรกรที่ไดรับ
               จัดสรรที่ดินรวม 59 ราย จำนวน 63 แปลง และ (2) ปาสงวนแหงชาติ ปาครบุรี ทองที่ตำบลบานใหม อำเภอครบุรี
               และทองที่ตำบลกุดโบสถ อำเภอเสิงสาง เนื้อที่ 3,182 ไร 0 งาน 57 ตารางวา (3,182-0-57 ไร) เกษตรกรไดรับ

               การจัดสรรที่ดินรวม 282 ราย จำนวน 300 แปลง

























                      การศึกษาทบทวนขอมูลเชิงโครงสราง คทช.
               นโยบาย และมาตรการระดับประเทศ ภูมิภาค
               และจังหวัดนครราชสีมา ประมวลกับผลการรวบรวม

               ศึกษา และวิเคราะหขอมูลระดับพื้นที่ใน 2 ดาน ไดแก
               (1) การวิเคราะหขอมูลดินทางกายภาพจากฐานขอมูล
               ของกรมพัฒนาที่ดิน โดยหลักการ FAO Framework
               1983 และ (2) การวิเคราะหขอมูลเชิงสังคม - เศรษฐกิจ

               โดยหลักการวิเคราะหชุมชนแบบมีสวนรวมตามกรอบ
               แนวคิด DPSIR ประกอบดวยขอมูลจากการสำรวจ
               ความเห็นของตัวแทนเกษตรกรที่ไดรับจัดสรรที่ดินทำกิน
               ในพื้นที่ศึกษา ปาสงวนแหงชาติ จังหวัดนครราชสีมา

               2 แหง และขอมูลจากการสัมภาษณผูแทนหนวยงาน
               ที่เกี่ยวของ คทช. ไดแก กรมพัฒนาที่ดิน กรมปาไม
               และสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

               และสิ่งแวดลอม ซึ่งมีแนวทางการศึกษาดังแผนภาพ







                       41
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48