Page 38 - รายงานประจำปี 2565
P. 38

การปลูกกัญชงตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน


                                                                         โดย นายพรชัย ชัยสงคราม นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
                                                                                          กลุมนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน

                                                                 กัญชง เปนพืชที่มีศักยภาพในการเปนพืชเศรษฐกิจ
                                                          โดยเฉพาะการนำมาใชประโยชนในอุตสาหกรรมทางการแพทย
                                                          สุขภาพและเสนใย ซึ่งสามารถสรางรายไดโดยตรงและตอยอด

                                                          เปนผลิตภัณฑที่เกี่ยวของไดหลากหลาย จากกระแสความตื่นตัว
                                                          ของภาคประชาชน เกษตรกร และภาคธุรกิจ ที่ใหความสนใจ
                                                          ในการปลูกกัญชงเปนจำนวนมาก โดยเฉพาะเกษตรกร
                                                          ที่ใหความสนใจในการปลูกเชิงพาณิชยและอุตสาหกรรม

                                                          โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูก

                      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน มีหนาที่หลักในการกำหนดเขตเหมาะสมการใชประโยชนที่ดินสำหรับ
               ปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อเปนแนวทางในการใชประโยชนที่ดินอยางคุมคาและยั่งยืน ดังนั้น จึงไดจัดทำเขตความเหมาะสม
               ของที่ดินสำหรับการปลูกกัญชง เพื่อเปนพืชทางเลือกใหกับเกษตรกรสำหรับปลูกควบคูกับพืชเศรษฐกิจหลักหรือ
               ปรับเปลี่ยนชนิดพืชจากเดิมเปนกัญชง




















                      คุณสมบัติดินที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของกัญชง ดินที่มีโครงสรางรวนซุย ระบายน้ำไดดี และ
               มีอินทรียวัตถุสูง คาความเปนกรด-ดาง อยูระหวาง 5.8 - 6.0 และเนื้อดินรวมปนทราย แตเนื้อดินที่ควรหลีกเลี่ยง

               คือ ดินเหนียวจัด เนื่องจากมีการระบายน้ำและอากาศไมดี และดินทราย มีขอจำกัดเรื่องของการอุมน้ำ พื้นที่ปลูก
               สภาพดินไมควรมีชั้นดานภายในแปลง จะทำใหรากชะงักการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการดูดน้ำและธาตุอาหารลดลง
               นอกจากนี้ชั้นดานสงผลใหเกิดการระบายน้ำไมดี เกิดสภาพน้ำขังใตผิวดิน ทำใหเกิดรากเนา โดยเฉพาะในชวงระยะ

               ตนกลา




                       36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43