Page 40 - รายงานประจำปี 2565
P. 40

ปาพรุ ความหลากหลายทางชีวภาพที่ควรอนุรักษ



                                                                             โดย นางสาวพิชชากร  สุทธานุกูล นักสำรวจดินปฎิบัติการ
                                                                                          กลุมนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน

                         ปาพรุเปนระบบนิเวศเฉพาะ มีความหลากหลายทางชีวภาพ และ

               เปนแหลงอาศัยของสัตวหลากชนิด พืชน้ำจำพวกกก พืชลมลุก และไมยืนตน
               เปนแหลงกักเก็บน้ำจืด แนวกันชนจากภัยธรรมชาติ ปองกันน้ำเค็มรุกเขา

               แผนดิน ปองกันการกัดเซาะของชายฝง ดักตะกอนและแรธาตุ ตลอดจน
               เปนแหลงกักเก็บคารบอนในดินที่มีความสำคัญในการรักษาสมดุลของ
               การปลดปลอยกาซเรือนกระจก เมื่อมีการใชประโยชนที่ดินบริเวณนี้

               จำเปนตองมีการระบายน้ำออก ทำใหเกิดการยุบตัวของดิน ดินมีสภาพ
               เปนกรดรุนแรง และอาจเกิดปญหาไฟไหมภายในพื้นที่ซึ่งสงผลกระทบ

               โดยตรงตอระบบนิเวศของปาพรุอยางรุนแรง ปริมาณสัตวน้ำลดลง
               พืชพรรณธรรมชาติไดรับความเสียหาย ปาพรุมีสภาพเสื่อมโทรมลง



                     เมื่อพูดถึงดินพรุ หลายคนจะนึกถึงดินบริเวณที่มีสภาพพื้นที่
               เปนที่ราบลุม หรือมีสภาพเปนแองตื้นๆ มีการทวมขังของน้ำ มักพบบริเวณพื้นที่ภาคใตของประเทศ
               โดยทั่วไปไมนิยมใชประโยชนที่ดินดังกลาวในการทำเกษตรกรรม เนื่องจากดินพรุมีปริมาณวัสดุอินทรียทับถมเปน

               จำนวนมาก เมื่อถึงชวงฤดูแลงมักเกิดปญหาไฟไหมภายในพื้นที่ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอระบบนิเวศของปาพรุและ
               คุณภาพชีวิตของผูคนที่อาศัยอยูบริเวณใกลเคียง

                     กลุมนโยบายและวางแผนการใชที่ดิน กองนโยบาย              กระบวนการทำงาน
               และแผนการใชที่ดิน เรงเห็นถึงปญหาดังกลาว จึงจัดทำ
               แผนบริหารจัดการพื้นที่เสื่อมโทรมดวยการพัฒนาที่ดิน   สํารวจวิเคราะหฐานขอมูลดานทรัพยากรดิน น้ํา

               เพื่อฟนฟูและรักษาความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณ            และสภาพการใชประโยชนที่ดิน
               พื้นที่ปาพรุควนเคร็ง และบริเวณโดยรอบภายในรัศมี
               5 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
               จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา

                                                                   จัดทําฐานขอมูลทางการเกษตรเพื่อการอนุรักษ
                                                                    และรักษาฐานทรัพยากรทางการเกษตรอยาง

                                                                               สมดุลและยั่งยืน




                                                                    แผนบริหารจัดการพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่ดิน






                       38
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45