Page 23 - รายงานประจำปี 2565
P. 23

การส ารวจและจัดท าแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (มาตราส่วน 1:25,000)




                                                                                     โดย กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน


                      กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน มีหน้าที่รับผิดชอบในการส้ารวจและ
               จัดท้าแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน การศึกษาและติดตามสถานการณ์การใช้ที่ดิน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

               ของประเทศไทย (รายจังหวัด) ในระดับมาตราส่วน 1:25,000 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการก้าหนดแผนการจัดการ
               ทรัพยากรที่ดิน โดยน้าข้อมูลจากดาวเทียมมาใช้ในการวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินร่วมกับการตรวจสอบข้อมูล

               ภาคสนาม ซึ่งส้าหรับข้อมูลการใช้ที่ดินชุดล่าสุด ได้แก่ ข้อมูลการใช้ที่ดินประเทศไทย ปี พ.ศ. 2462-2564 พบว่า
               มีพื นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 19,781,727 ไร่ พื นที่เกษตรกรรม 177,986,476 ไร่ พื นที่ป่าไม้ 104,135,230 ไร่

               พื นที่น ้า 9,817,642 ไร่ และพื นที่เบ็ดเตล็ด 8,975,818 ไร่

                      การด้าเนินงานในปี พ.ศ. 2565 มีการด้าเนินงาน
               ในพื นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 จังหวัด ได้แก่

                จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
               จังหวัดอุดรธานี จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดนครพนม

               จังหวัดขอนแก่น จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์

               จังหวัดสกลนคร จังหวัดเลย และจังหวัดศรีสะเกษ

               รวมเนื อที่ทั งหมด 74.1 ล้านไร่


                       ปัจจุบันมีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นบน

                 โทรศัพท์มือถือทั งระบบปฏิบัติการ Android และ iOS

                 มากมาย ซึ่งสามารถน้ามาใช้ในการส้ารวจภาคสนาม
                และถ่ายภาพต้าแหน่งที่สนใจ ซึ่งสามารถท้างาน

                ร่วมกันบนแผนที่และจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลระบบ
                สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS Database) ได้ ตัวอย่างเช่น

                Map plus, Handy GPS, Ling, และ Field Area

                Measure เป็นต้น ท้าให้การส้ารวจและจัดท้าแผนที่

                สภาพการใช้ที่ดิน สามารถท้าได้รวดเร็ว สะดวก และ

                ถูกต้องแม่นย้ามากยิ่งขึ น















                       21
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28