Page 54 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจยางพารา
P. 54

4-4





                                    (4) เฉลี่ยรวม

                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 95.73 ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 มีเนื้อที่ปลูก
                  และเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.53 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูกยางพาราที่เกษตรกร ร้อยละ 84.62
                  ปลูกคือ 3x7 เมตร มีจ้านวนต้นเฉลี่ย 76 ต้นต่อไร่ อายุพืชเฉลี่ย 17 ปี โดยส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพารา

                  ในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 87.18 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมร้อยละ 97.44 ลักษณะการกรีด
                  ส่วนใหญ่เป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 76.92 จ้านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 145 วัน แหล่งน้้า
                  ที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้้าฝนเพียงอย่างเดียว การจ้าหน่ายผลผลิตทั้งหมดเป็นการจ้าหน่าย
                  แบบอิสระ โดยมีพ่อค้าในท้องถิ่นเป็นผู้รับซื้อผลผลิต สถานที่จ้าหน่ายผลผลิต เกษตรกรร้อยละ 73.50 น้าไป
                  จ้าหน่ายที่จุดรับซื้อ โดยเกษตรกรร้อยละ 71.79 ขนส่งผลผลิตเอง อัตราค่าขนส่งผลผลิตเฉลี่ย

                  0.87 บาทต่อกิโลกรัม และระยะทางการขนส่งผลผลิตไปถึงสถานที่ขายเฉลี่ย 3.41 กิโลเมตร

                             3) การใช้ปัจจัย ต้นทุน และผลตอบแทนการผลิต
                                3.1) ยางพาราปีปลูก
                                    เกษตรกรใช้ปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ต้นพันธุ์เฉลี่ย 76 ต้นต่อไร่ ปุ๋ยเคมีเฉลี่ย

                  19.45 กิโลกรัมต่อไร่ สารป้องกันและปราบวัชพืชชนิดน้้าเฉลี่ย 0.44 ลิตรต่อไร่ น้้ามันเชื้อเพลิงและ
                  หล่อลื่นเฉลี่ย 0.33 ลิตรต่อไร่ แรงงานคนเฉลี่ย 3.47 วันท้างานต่อไร่ และแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ย 1.44
                  ชั่วโมงท้างานต่อไร่ โดยมีต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ย 5,790.56 บาทต่อไร่ ประกอบด้วย ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย
                  4,696.93 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 81.11 ของต้นทุนทั้งหมด และต้นทุนคงที่เฉลี่ย 1,093.63 บาทต่อไร่

                  หรือร้อยละ 18.89
                                3.2) ยางพาราปีดูแลรักษา
                                    เกษตรกรใช้ปัจจัยในการผลิต ประกอบด้วย ปุ๋ยเคมีเฉลี่ย 40.84 กิโลกรัมต่อไร่
                  ปุ๋ยคอกเฉลี่ย 1.67 กิโลกรัมต่อไร่ สารป้องกันและปราบวัชพืชชนิดน้้าเฉลี่ย 0.27 ลิตรต่อไร่ น้้ามันเชื้อเพลิง

                  และหล่อลื่นเฉลี่ย 0.98 ลิตรต่อไร่ แรงงานคนเฉลี่ย 0.26 วันท้างานต่อไร่ และแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ย 1.52
                  ชั่วโมงท้างานต่อไร่ โดยมีต้นทุนที่ใช้ในการดูแลยางพาราทั้งหมดเฉลี่ย 2,832.56 บาทต่อไร่ ประกอบด้วย
                  ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย 1,799.89 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 63.54 ของต้นทุนทั้งหมด และต้นทุนคงที่เฉลี่ย

                  1,032.67 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 36.46
                                3.3) ยางพาราปีให้ผลผลิต
                                    (1) น้้ายางสด
                                         (1.1) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1)
                                               เกษตรกรใช้ปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ปุ๋ยเคมีเฉลี่ย 48.25

                  กิโลกรัมต่อไร่ สารป้องกันและปราบวัชพืชชนิดน้้าเฉลี่ย 0.07 ลิตรต่อไร่ ปูนแดงชนิดน้้าเฉลี่ย 0.07
                  ลิตรต่อไร่ และชนิดเม็ดเฉลี่ย 0.11 กิโลกรัมต่อไร่ น้้ามันเชื้อเพลิงและหล่อลื่นเฉลี่ย 0.73 ลิตรต่อไร่
                  แรงงานคนเฉลี่ย 14.72 วันท้างานต่อไร่ และแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ย 0.66 ชั่วโมงท้างานต่อไร่

                  โดยมีต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ย 8,668.47 บาทต่อไร่ ประกอบด้วย ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย 6,540.06 บาทต่อไร่
                  หรือร้อยละ 75.45 ของต้นทุนทั้งหมด และต้นทุนคงที่เฉลี่ย 2,128.41 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 24.55
                  ซึ่งมีต้นทุนต่อกิโลกรัม 32.33 บาท ทั้งนี้ เกษตรกรได้รับปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 268.10 กิโลกรัมต่อไร่
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59