Page 53 - ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจยางพารา
P. 53

4-3





                                2.2) ยางพาราปีดูแลรักษา

                                    เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 83.33 ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 มีเนื้อที่ปลูกเฉลี่ย
                  10.00 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูกยางพาราที่เกษตรกรปลูกส่วนใหญ่คือ 3x7 เมตร ร้อยละ 83.33
                  มีจ้านวนต้นต่อไร่เฉลี่ย 78 ต้น อายุพืชเฉลี่ย 4 ปี แหล่งน้้าที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้้าฝนเพียงอย่างเดียว

                                2.3) ยางพาราปีให้ผลผลิต
                                    (1) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพสูง (S1)
                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 94.29 ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 มีเนื้อที่ปลูก
                  และเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.37 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูกยางพาราที่เกษตรกรร้อยละ 91.43
                  ปลูกคือ 3x7 เมตร มีจ้านวนต้นเฉลี่ย 77 ต้นต่อไร่ อายุพืชเฉลี่ย 16 ปี โดยส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพารา

                  ในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 82.86 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมร้อยละ 97.14 ลักษณะการกรีด
                  ส่วนใหญ่เป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 77.14 จ้านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 146 วัน แหล่งน้้า
                  ที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้้าฝนเพียงอย่างเดียว การจ้าหน่ายผลผลิตทั้งหมดเป็นการจ้าหน่ายแบบอิสระ

                  โดยมีพ่อค้าในท้องถิ่นเป็นผู้รับซื้อผลผลิต สถานที่จ้าหน่ายผลผลิต เกษตรกรร้อยละ 60.00 น้าไป
                  จ้าหน่ายที่จุดรับซื้อ โดยเกษตรกรร้อยละ 57.14 ขนส่งผลผลิตเอง อัตราค่าขนส่งผลผลิตเฉลี่ย 0.98
                  บาทต่อกิโลกรัม และระยะทางการขนส่งผลผลิตไปถึงสถานที่ขายเฉลี่ย 2.79 กิโลเมตร
                                    (2) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพปานกลาง (S2)

                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 97.96 ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 มีเนื้อที่ปลูก
                  และเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.39 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูกยางพาราที่เกษตรกรร้อยละ 85.71
                  ปลูกคือ 3x7 เมตร มีจ้านวนต้นเฉลี่ย 76 ต้นต่อไร่ อายุพืชเฉลี่ย 17 ปี โดยส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพารา
                  ในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 89.80 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมทั้งหมด ลักษณะการกรีด

                  ส่วนใหญ่เป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 69.39 จ้านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 146 วัน แหล่งน้้า
                  ที่ใช้ในการดูแลยางพาราคือ น้้าฝนเพียงอย่างเดียว การจ้าหน่ายผลผลิตทั้งหมดเป็นการจ้าหน่าย
                  แบบอิสระ โดยมีพ่อค้าในท้องถิ่นเป็นผู้รับซื้อผลผลิต สถานที่จ้าหน่ายผลผลิต เกษตรกรร้อยละ 81.63
                  น้าไปจ้าหน่ายที่จุดรับซื้อ โดยเกษตรกรร้อยละ 83.67 ขนส่งผลผลิตเอง อัตราค่าขนส่งผลผลิตเฉลี่ย

                  0.76 บาทต่อกิโลกรัม และระยะทางการขนส่งผลผลิตไปถึงสถานที่ขายเฉลี่ย 4.06 กิโลเมตร
                                    (3) พื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมทางกายภาพเล็กน้อย (S3)
                                        เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 93.94 ปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 มีเนื้อที่ปลูก

                  และเนื้อที่เก็บเกี่ยวเฉลี่ย 13.91 ไร่ต่อครัวเรือน ระยะปลูกยางพาราที่เกษตรกร ร้อยละ 75.76
                  ปลูกคือ 3x7 เมตร มีจ้านวนต้นเฉลี่ย 74 ต้นต่อไร่ อายุพืชเฉลี่ย 18 ปี โดยส่วนใหญ่เปิดหน้ายางพารา
                  ในเดือนพฤษภาคมร้อยละ 87.88 และปิดหน้ายางพาราในเดือนมีนาคมร้อยละ 93.94 ลักษณะการกรีด
                  ส่วนใหญ่เป็นการกรีด 2 วัน หยุด 1 วัน ร้อยละ 87.88 จ้านวนวันกรีดในรอบปีเฉลี่ย 144 วัน แหล่งน้้าที่ใช้
                  ในการดูแลยางพาราคือ น้้าฝนเพียงอย่างเดียว การจ้าหน่ายผลผลิตทั้งหมดเป็นการจ้าหน่ายแบบอิสระ

                  โดยมีพ่อค้าในท้องถิ่นเป็นผู้รับซื้อผลผลิต สถานที่จ้าหน่ายผลผลิต เกษตรกรร้อยละ 75.76 น้าไปจ้าหน่าย
                  ที่จุดรับซื้อ โดยเกษตรกรร้อยละ 69.70 ขนส่งผลผลิตเอง อัตราค่าขนส่งผลผลิตเฉลี่ย 0.94 บาทต่อกิโลกรัม
                  และระยะทางการขนส่งผลผลิตไปถึงสถานที่ขายเฉลี่ย 2.93 กิโลเมตร
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58