ประธานคณะทำงานย่อยที่ 2 งานวิชาการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดินพร้อมด้วยคณะทำงานฯ...
เป็นประธานการประชุมครั้งที่ 4/2566 โดยมีเจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินเข้าร่วมประชุม...
เข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาสับปะรดครั้งที่ 1/2566 ณ ห้องประชุม 134-135...
ปฏิบัติราชการโครงการการบริหารจัดการข้อมูลดินดำ (Black Soil) ของประเทศไทย เพื่อความยั่งยืน...
วันที่ 21 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2566
วันที่ 29 มีนาคม - 11 เมษายน 2566
วันที่ 11 มีนาคม - 17 มีนาคม 2566
วันที่ 16 - 17 มีนาคม พ.ศ. 2566
วันที่ 13 มีนาคม - 14 มีนาคม 2566
วันที่ 2 มีนาคม - 18 มีนาคม 2566
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ - 4 มีนาคม 2566
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ - 10 มีนาคม 2566
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการ Coaching หลักสูตร “รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหาและ บรรณานุกรม” ให้กับบุคลากร การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ (ข้าวนาปี) ตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน จังหวัดพะเยา ปีการเพาะปลูก 2564/65 นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ และนางสาวเนตรนภา กาศวิเศษ นักวิชาการเกษตรชานาญการ เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน เข้าร่วมการสัมมนาและนาเสนอการดาเนินงานวิจัย โครงการ “Dynamics of Oil Palm Plantation in Southern Thailand” นางสาวพันธุ์ทิพย์ ปานกลาง นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ และนางสาวเนตรนภา กาศวิเศษ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ร่วมปฏิบัติงานวิจัยหัวข้อ “Dynamics of Oil Palm Plantation in Southern Thailand” ร่วมกับ CIRAD และมหาวิทยาลัยทักษิณ โดยงานวิจัยนี้เกี่ยวกับการศึกษาพลวัตรการใช้ที่ดินของการปลูกปาล์มน้ำมันในภาคใต้ของประเทศไทย (ระหว่าง ปี พ.ศ. 2555-2575) นางสาวสลิลา เอี่ยมอิทธิพล นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ และเจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ลงพื้นที่อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เพื่อตรวจสอบข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินภาคสนาม ในการดำเนินงานโครงการตรวจสอบพื้นที่ปลูกข้าวที่เปลี่ยนแปลงด้วย Data Cube โดย NECTEC ได้ทำการวิจัยคิดค้นแอพพลิเคชั่นสำหรับใช้ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ในระยะแรกจะเป็นการตรวจสอบพื้นที่นาข้าวที่เปลี่ยนเป็นพื้นที่ปลูกอ้อย ซึ่ง NECTEC จะนำข้อมูลที่ได้จากภาคสนามไปดำเนินการปรับปรุงแอพพลิเคชั่นให้สามารถนำไปใช้งานได้ ทั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานของกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินในอนาคตต่อไปได้ นางสาววีรยา พันธ์เขียว นาพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ในปีงบประมาณ 2564 จานวน 3 ไร่ เพื่อขุดสระกักเก็บน้าแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 2,100 ลบ.ม. โดยมีความต้องการที่จะทาเกษตรผสมผสานเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน และเพิ่มรายได้ โดยก่อนเข้าร่วมโครงการฯ ใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกพืช ทานาปีข้าวหอมมะลิ พันธุ์ กข15 หมู่ที่ 2 บ้านป่าจา ตาบลแม่ปืม นายณรงค์ เทียมแก้ว ได้นาพื้นที่นา 5 ไร่ เข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ในปีงบประมาณ 2564 เพื่อขุดสระกักเก็บน้าแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 3,500 ลบ.ม. โดยมีความต้องการที่จะทาเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน ซึ่งก่อนเข้าร่วมโครงการฯ ใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกพืช ข้าวเหนียวนาปีพันธุ์ กข6 เพียงอย่างเดียว ภายหลังเข้าร่วมโครงการฯ นางสาววีรยา พันธ์เขียว นาพื้นที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ในปีงบประมาณ 2564 จานวน 3 ไร่ เพื่อขุดสระกักเก็บน้าแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 2,100 ลบ.ม. โดยมีความต้องการที่จะทาเกษตรผสมผสานเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน และเพิ่มรายได้ นายณรงค์ เทียมแก้ว ได้นาพื้นที่นา 5 ไร่ เข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ในปีงบประมาณ 2564 เพื่อขุดสระกักเก็บน้าแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 3,500 ลบ.ม. โดยมีความต้องการที่จะทาเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน ซึ่งก่อนเข้าร่วมโครงการฯ ใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกพืช ข้าวเหนียวนาปีพันธุ์ กข6 เพียงอย่างเดียว ภายหลังเข้าร่วมโครงการฯ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทาง การเกษตร ประชุมเพื่อบริหารจัดการครุภัณฑ์ของกลุ่มฯ และจัดทำโครงการวิชาการ/วิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ ตาม ตัวชี้วัดการจัดทำแผนปฏิบัติงานวิชาการ/วิจัย ข้าราชการ พนักงานข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ กลุ่มวิเคราะห์สภาพการ ใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ร่วมกิจกรรม Big Cleaning Day เพื่อร่วมกันทําความ สะอาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทํางานรวมถึงระเบียบวินัยของบุคลากรในองค์กร และสร้าง การมีส่วนร่วมของบุคลกร (Teamwork) ตามแนวทาง Smart Workplace for Productivity Enhancement กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร เริ่มแล้ว “LDD Zero Waste” ชีวิตยุคใหม่ เปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์ ด้วยแนวคิด 1A3R หลีกเลี่ยง การผลิตขยะเพิ่ม ลดใช้ นำกลับมาใช้ซ้ำ และรีไซเคิล
กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรได้จัดอบรมCoaching ให้กับบุลากรของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินฯและบุคคลภายนอก จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่
กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร ได้ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตพืชของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มทฤษฎีใหม่ ระหว่างวันที่ 12-15 กุมภาพันธ์ 2565 ณ จังหวัดปทุมธานี ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี และชัยนาท โดยใช้ Agri-Map on Mobile ในการลงพื้นที่ ซึ่งพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ได้เข้าร่วมโครงการเนื่องจากต้องการเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำใช้ในการเกษตร และเกษตรกรมีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับมากที่สุด วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม 2565 เวลา 10.00 น. ผู้อำนวยการ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร (นายสุภัทรชัย โอฬารกิจกุลชัย) และบุคลากรในสังกัดให้ การต้อนรับคณะทำงานตรวจและประเมินผลกิจกรรม 5ส พร้อมร่วมชี้แจ้งข้อมูลกิจกรรม 5ส. ของ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรที่ได้ดำเนินการตามแนวทาง Smart Workplace เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2565 กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร จัดกิจกรรม 5ส ตามแนวทาง Smart Workplace ภายใต้คำขวัญ สามัคคี คือ “พลัง” มาทำให้หน่วยงานน่าอยู่กันเถอะ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตรลงพื้นที่ติดตามและสํารวจข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคม ประจําปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 10 – 17 กุมภาพันธ์ 2565 ณ จังหวัดกําแพงเพชร และจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งบริเวณพื้นที่ที่เกษตรกรเข้าร่วมโครงการมีการทํากิจกรรมการผลิตพืชที่หลากหลาย ระหว่างวันที่ 10 – 17 กุมภาพันธ์ 2565 ได้เข้าร่วมโครงการ 1 ตําบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เมื่อปี 2564 เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบาย และแผนการใช้ที่ดิน ร่วมจัดนิทรรศการด้าน Agri-Map ในงาน ”สัปดาห์นวัตกรรมยกระดับ ผลิตภัณฑ์ เห็ดเป็นยา อาหารที่ดี และคลินิกสุขภาพ” ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เพื่อประชาสัมพันธ์ Agri-Map ให์แก์ประชาชนผู้สนใจ นายธนกฤต ผลเกลี้ยง เศรษฐกรชำนาญการพิเศษ เข้าร่วมประชุมกำหนดเกณฑ์ในการประเมินคัดเลือกหน่วยงานภายใน กนผ. ที่มีผลงาน 5ส ตามแนวทาง Smart Workplace for Productivity Enhancement โดดเด่นทั้ง 4 ด้าน นายสุภัทรชัย โอฬารกิจกุลชัย ผู้อำนวยการกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ชีวีมีสุข โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดให้กับเจ้าหน้าที่ในสังกัดและผู้ที่สนใจ ณ ห้องทำงานกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร ชั้น 6 นายสุภัทรชัย โอฬารกิจกุลชัย ผู้อำนวยการกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร เป็นประธานการประชุม โดยมีนายธนกฤต ผลเกลี้ยง เศรษฐกรชำนาญการพิเศษ และนายณัฐภาส ศรีเลิศ เศรษฐกรปฏิบัติการ กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร หารือร่วมกันกับนางสาวสลิลา เอี่ยมอิทธิพล นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กนผ. ในการเตรียมข้อมูลลงพื้นที่สารวจผลผลิตข้าวนาปี ราคาสินค้าเกษตร และต้นทุนและผลตอบแทนพืชเศรษฐกิจ (ข้าวนาปี จ.พะเยา) เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในแบบจาลองการคาดการณ์ผลผลิตสินค้าเกษตร และผลตอบแทนการผลิตพืชในระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ณ ห้องประชุมกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร ชั้น 6 กลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร ร่วมกับฝ่ายเศรษฐกิจยาง กองวิจัยเศรษฐกิจยาง กยท. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลผลผลิต ราคาสินค้าเกษตร ต้นทุนและผลตอบแทนของพืชเศรษฐกิจยางพารา จังหวัดสุราษฎร์ธานีตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ระหว่างวันที่ 24 มกราคม – 4 กุมภาพันธ์ 2565 เพื่อใช้ในแบบจำลองการคาดการณ์ผลผลิตสินค้าเกษตร และผลตอบแทนการผลิตพืชในระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ร่วมจัดนิทรรศการ Agri-Map ในงานเกษตรแฟร์ ณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อประชาสัมพันธ์ Agri-Map ให้แก่ประชาชนผู้สนใจที่มาร่วมงาน เกษตรแฟร์ ประจำปี 2565 บริษัทพาสโคไทย (PASCO Thailand) ได้จัดฝึกอบรม เรื่องการฝึกอบรมการประยุกต์ใช้ AI Model ในการจำแนกพืชพรรณ (Training program for AI model project for Land use data for LDD) ให้แก่บุคลากรกลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ณ ห้องปฏิบัติการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์และภูมิสารสนเทศ ศทส. อาคาร1 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่บุคลากร สามารถนำประยุกต์ใช้ในงาน และเพื่อการทำงานวิจัยร่วมกันต่อไป 26, 28, 31 มกราคม 2 กุมภาพันธ์ 2565 เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ร่วมจัดนิทรรศการ Agri-Map ในงานเกษตรแฟร์ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อประชาสัมพันธ์ Agri-Map ให้แก่ประชาชนผู้สนใจที่มาร่วมงาน เกษตรแฟร์ ประจำปี 2565 นายกันตภณได้เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เมื่อปี 2564 เพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำ โดยก่อนเข้าร่วมโครงการมีการใช้พื้นที่ในการทำนาข้าว 30 ไร่ และภายหลังได้แบ่งพื้นที่จำนวน 5 ไร่ เพื่อเข้าร่วมโครงการ โดยมีการขุดสระรูปแบบวงกลม ปัจจุบันมีน้ำใช้เพียงพอทั้งปี และได้มีการนำพื้นที่ทำกิจกรรมทางการเกษตรบริเวณรอบสระ ประกอบด้วย นาข้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้น ประมง และ ปศุสัตว์ ซึ่งการเข้าร่วมโครงการเป็นการดำเนินการในปีแรก กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่_นายกันตภณ_วรรณศรี นายถวิลได้เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เมื่อปี 2564 เพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำ โดยมีการแบ่งพื้นที่ทำนาข้าวและพื้นที่ปลูกอ้อยจำนวน 5 ไร่ เพื่อเข้าร่วมโครงการ และได้มีการขุดสระรูปแบบวงกลมตามความเหมาะสมของพื้นที่ ซึ่งพื้นที่เดิมมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ปัจจุบันมีน้ำใช้เพียงพอทั้งปี และได้มีการนำพื้นที่ทำกิจกรรมทางการเกษตรบริเวณรอบสระ ประกอบด้วย นาข้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้น ประมง และปศุสัตว์ ซึ่งการเข้าร่วมโครงการเป็นการดำเนินการในปีแรก กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่_นายถวิล_ภู่แปลง นายวีรวุฒิได้เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่เมื่อปี 2564 เพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำและทำเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยก่อนเข้าร่วมโครงการมีการใช้พื้นที่ในการทำนาข้าวและปลูกพืชอื่น 75 ไร่ และภายหลังได้แบ่งพื้นที่จำนวน 3 ไร่ เพื่อเข้าร่วมโครงการ โดยมีการขุดสระรูปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามขนาดของพื้นที่ ซึ่งจากความลึกของสระที่เหมาะสมจึงมีน้ำจากใต้ดิน ทำให้ปัจจุบันมีน้ำใช้เพียงพอทั้งปี กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่_นายวีรวุฒิ_วังซ้าย นายอุเทนได้เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำ โดยก่อนเข้าร่วมโครงการมีการใช้พื้นที่ในการทำนาข้าว 6 ไร่ และภายหลังได้แบ่งพื้นที่จำนวน 4 ไร่ เพื่อเข้าร่วมโครงการดังกล่าว และมีการขุดสระรูปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าตามขนาดของพื้นที่ปัจจุบันมีน้ำใช้เพียงพอทั้งปี กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่_นายอุเทน_หมื่นนาค |
ประกาศรับสมัคร (จ้างเหมาบริการเอกชน) กลุ่มวิเคราะห์สภาพการการใช้ที่ดิน (กนผ.) 4 ตำแหน่ง
ประกาศรับสมัคร (จ้างเหมาบริการเอกชน) ฝ่ายบริหารทั่วไป (กนผ.) 1 ตำแหน่ง
|
เปิดการอบรมจัดทำการใช้ที่ดินระดับตำบล ผ่านระบบ Video Conference และ Web Conference วันที่ 27 มกราคม 2564
นายสมศักดิ์ สุขจันทร์ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นางสาวกัลยา ดำรงสัจจ์ศิริ นักสำรวจดินชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายพิสิษฐ์ พานิช เศรษฐกรชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นางสาวกรรณิสา สฤษฏ์ศิริ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายนันทพล หนองหารพิทักษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายวิศิษฐ์ งามสม ผู้อำนวยการกลุ่มแผนงาน กองแผนงาน กรมพัฒนาที่ดิน
นายสมศักดิ์ สุขจันทร์ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นางสาวกัลยา ดำรงสัจจ์ศิริ นักสำรวจดินชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายพิสิษฐ์ พานิช เศรษฐกรชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นางสาวกรรณิสา สฤษฏ์ศิริ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายนันทพล หนองหารพิทักษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
นายวิศิษฐ์ งามสม ผู้อำนวยการกลุ่มแผนงาน กองแผนงาน กรมพัฒนาที่ดิน
เพื่อบริหารจัดการพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีระบบการวิเคราะห์ข้อมูลและสามารถเลือกปลูกพืชเศรษฐกิจทดแทนให้เหมาะสมตามชั้นความเหมาะสมของดิน ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลพร้อมติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง ครอบคลุมการนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการ การเพาะปลูก ผลผลิตด้านการเกษตร ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และคาดการณ์ในอนาคต สามารถใช้งานได้จากทุกที่ ทุกเวลา ผ่านสมาร์ทโฟนในระบบ Android
“ผลสำเร็จลดการชะล้างพังทะลายของดิน” ลดมลพิษทางดิน Be the Solution to soil Pollution เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำ น้ำแม่จัน จังหวัดเชียงราย