Page 74 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 74

2-60





                                                                                                      ั
                              (4)  กลวยน้ำวา เกษตรกรนิยมปลูกพันธุพื้นเมือง ระยะปลูกระหวางตนและแถวหางกน
                                                                
                  3.5×4 เมตร เริ่มปลูกชวงฤดูฝน ตั้งแต พ.ค.- ม.ค. ซึ่งขั้นตอนการปลูกกลวยเริ่มดวยการขุดหลุมกวาง
                                                      ิ
                  50 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร แลวนำดนตากแดดไวสัก 1 สัปดาห จากนั้นคอยใสกลับลงไปในหลุม
                  พรอมผสมปุยคอกหรือปุยหมักใหสูงนูนขึ้นมา 20 เซนติเมตร เสร็จแลววางหนอกลวยลงไปกลางหลุม

                  เอาดินกลบ รดน้ำ และกดใหแนน อยาลืมปลอยใหยอดหนอโผลสูงกวาหนาดินประมาณ 10 เซนติเมตร
                  และเวนระยะปลูกอยาใหใกลกันมากเกินไป เนื่องจากใบกลวยคอนขางใหญ อาจสงผลใหซอนกันจน
                  ไดรับแสงแดดไมเพียงพอและดูแลลำบากได โดยกลวยจะเริมออกดอกและใหผลแตกตางกันไปตามสาย
                                                                   ่
                  พันธุ ซึ่งจะเริ่มตนที่ประมาณ 5-6 เดือนเปนตนไป

                              (5)  ปาลมน้ำมัน เกษตรกรนิยมปลูกพันธุเทเนอรา ในปแรกหลังจากปลูกควรใสปุย
                  4-5 ครั้ง ตั้งแตปที่ 2 เปนตนไป ควรใสปุย 3 ครั้งตอป ชวงที่เหมาะสมในการใสคือ ตนฝน กลางฝน และ
                                                                                                      
                  ปลายฝน ตั้งแตปที่ 5 ขึ้นไป อาจพิจารณาใสปุยเพียงปละ 2 ครั้ง ถาสภาพแวดลอมเหมาะสมแบงใสปุย
                  (ตามอัตราที่แนะนำ) เมื่อแบงใส 3 ครั้งตอป แนะนำใหใชสัดสวน 50:25:25% สำหรับการใสปุย ตนฝน

                  กลางฝน และปลายฝน และเมื่อแบงใส 2 ครั้งตอป ใชสัดสวน 60:40% ระยะตนฝนและกอนปลายฝน
                                      ี
                                            
                  ตามลำดับ การใสปุยเคมใหใสปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อตรา 250 กรัมตอตน รองกนหลุมตอนปลูก โดย
                                                                ั
                        ้
                  ใชดินชันบน ผสมคลุกเคลากับปุยหินฟอสเฟต ใสรองกนหลุมแลวกลบหลุมใหเต็มดวยดินชั้นลาง อายุ
                  ระหวาง 1-4 ป ใสปุยภายในวงกลม (รัศม 1.5-2 เมตร) บริเวณที่กำจัดวัชพืชรอบโคนตน อายุตั้งแต 5 ป
                                  
                                                    ี
                  ขึ้นไป ใสปุยหางจากโคนตน 50 เซนติเมตร จนถึงบริเวณปลายทางใบ ผลผลิตประมาณ 3,000-3,300
                  กิโลกรัมตอไร
                                                 ี่
                                                                                             ิ
                                                                                               
                  ตารางที่ 2-17 พืชและพันธุพืชหลักทพบในบริเวณเขตพื้นที่ชุมน้ำนานาชาตอทยานแหงชาตแกงกระจาน
                                                                                ิ
                                                                                 ุ
                               ในรัศมี 5 กิโลเมตร
                                                                                         ผลผลิตเฉลีย
                                                                                                 ่
                        พืช            พันธุที่ปลูก   ชวงเวลาการปลูก   ชวงการเก็บเกี่ยว
                                                                                          (ก.ก.ตอไร)
                                                                                                 
                                             ี
                                         
                   สับปะรด              ปตตาเวย          ก.ค. - ส.ค.     พ.ย. - ธ.ค.      2,900-3,000
                                                                             ึ้
                   ยางพารา             RRIM600           พ.ค. - มิ.ย.    5 ปขนไป           160-170
                   มะมวง           แกวขมิ้น นำดอกไม    พ.ค. - มิ.ย.   3-4 ปขึ้นไป       300-500
                                            ้
                   กลวยนำวา            พื้นเมือง        พ.ค. - ม.ค.     มี.ค.-พ.ค.       2,700-3,300
                          
                        ้
                                                                                ึ้
                   ปาลมน้ำมัน          เทเนอรา          พ.ค. - มิ.ย.   อายุ 3-4 ปขนไป   1,914-2,480
                  ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2564)
                  2.9  การประเมินคุณภาพที่ดิน
                                                                                                      ิ
                        การศึกษาไดดำเนินการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพเพียงดานเดียว โดยศึกษาการประเมน
                  คุณภาพดินรวมกับประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ไดกำหนดเปนตัวแทนการเกษตรกรรมหลักใน
                                           ี่
                  พื้นที่ชุมน้ำ ดังแสดงในตารางท 2-19 รวมทั้งยังไดประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะนำในพื้นที่ชุมน้ำ
                           ุ
                                                                                                 ื
                          ิ
                                       ิ
                                         
                                                                          ี่
                  นานาชาตอทยานแหงชาตแกงกระจาน การวิเคราะหไดคำนึงถึงปจจัยทมผลตอการเจริญเติบโตของพชในแต
                                                                            ี
                                                                                                      ึ่
                  ละดานของดินที่แตกตางกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกตางกันไปตามวัตถุตนกำเนิดของดิน ซง
                  คุณลักษณะที่ดินที่ใชในการแสดงคาเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโตแตกตางกัน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79