Page 75 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 75

2-61





                        การประเมินคุณภาพที่ดิน ใชคูมือการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ FAO Framework

                  ค.ศ.1983 (บัณฑิต และคำรณ, 2542) และคูมือการประเมินคุณภาพที่ดิน สำหรับการวางแผนการใช
                  ที่ดินระดับตำบลและระดับจังหวัด (ศันสนีย และคำรณ, 2562)
                        การเลือกคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดน
                                                                                                      ิ
                  ตามระบบ FAO กำหนดในระบบไว 25 ชนิด สำหรับประเทศไทยใชคุณลักษณะดินเพื่อใชเปนตัวแทน
                  คุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน 13 ชนิด โดยตัวแทนคุณภาพที่ดินแตละตัวมีขอจำกัด
                                                                                                      ้
                                                                          ้
                  ในการเลือกใชจากปจจัยดาน 1) มีผลตอพืชหรือประเภทการใชที่ดินนัน ๆ 2) พบคาวิกฤตในพื้นที่ปลูกนัน
                                     ู
                                                                                                     ั
                  ๆ 3) การรวบรวมขอมลตองสามารถปฏิบัติไดจริงจากเงื่อนไขดังกลาว จำเปนตองจัดลำดับความสำคญ
                  คุณภาพที่ดินกอนที่จะนำมาประเมิน ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน
                                                                                                      ิ
                        เมื่อทำการจัดลำดับความสำคัญแลวพบวา เงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวมขอมูลคุณลักษณะที่ดน
                  ดังนั้น เมื่อนำมาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตาง ๆ ในเขตพื้นที่ชุมน้ำจึงมีปจจัย
                  หลัก 7 ปจจัย ที่นำมาวิเคราะห ดังนี้

                          1) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (Moisture availability : m)
                          2) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (Oxygen availability to root : o)
                          3) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (Nutrient availability : s)
                          4) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity : n)

                          5) สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions : r)
                          6) ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย (Average relative humidity : h)
                          7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard : e)
                        การจำแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินไดจำแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น (Class) และ

                  กำหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสมออกเปนชั้นยอย (Subclass) ตามขอจำกัดของ
                  คุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน ทั้งนี้ ใชวิธีการประเมินจากกลุมของ
                  คุณลักษณะที่ดินที่มีขอจำกัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินได 4 ชั้น คือ
                          S1 : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง

                           S2 : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                           S3 : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                           N  : ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม

                           การประเมินความเหมาะสมของที่ดินของพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน
                  สามารถจำแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของทดินในระดับชั้นยอยในเขตเกษตรทอาศยน้ำฝน และเขตเกษตร
                                                                                 ี
                                                                                     ั
                                                                                 ่
                                                       ี่
                  ชลประทาน ดำเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน และไดจัดทำ
                  การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในรัศมี 5 กิโลเมตร จากเขตพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาต ิ
                  แกงกระจาน ประกอบดวย สับปะรด ยางพารา มะมวง กลวย และปาลมน้ำมัน มีรายละเอียดดังนี  ้
                  (ตารางที่ 2-18)
                            1. สับปะรด
                               ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ไดแก หนวยแผนที่ดิน Ks-silA Ks-silB Ks-silAI Mpc-slA

                  Pr-slA Mpc-silB Mpc-slB Pr-slB Tk-fl-clB/d3c Tk-fl-clB/d4c Pr-slBI Tm-alk-slA Tm-slA Tm-slAI Ws-clB
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80