Page 73 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 73

2-59





                                                   ิ
                                                  ี
                                                  ่
                        2.8.5  ประเภทการใชประโยชนทดน
                            หมายถึง ชนิดหรือระบบของการใชที่ดินที่กลาวถึงชนิดของพืช ลักษณะการดำเนินงาน และ
                  สภาพการผลิตในการใชที่ดินทั้งทางดานกายภาพและสภาพเศรษฐกิจสังคม ไดแก รูปแบบการผลิต การเขต
                                                                             ้
                                                                       ู
                                                                                         ่
                                                                                         ื
                                                                    
                                                   ิ
                                                            
                                  ิ
                                    ุ
                  กรรม การจัดการ เงนทน และขนาดของกจการ เปนตน โดยใชขอมลเหลานีมาวิเคราะหเพอคัดเลือกประเภท
                  การใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสมกับทองถิ่นนั้น
                                               
                            จากขอมูลสภาพการใชประโยชนที่ดินบริเวณพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาต  ิ
                  แกงกระจาน ในรัศมี 5 กิโลเมตร ป 2563 พบวา เกษตรกรทำการเกษตรโดยใชน้ำฝนเปนหลัก รายละเอยด
                                                                                                     ี
                  ดังตารางที่ 2-13
                            ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตพื้นที่อาศัยน้ำฝน สามารถคัดเลือกประเภทการใช
                                                       
                  ประโยชนที่ดิน ไดดังนี้ สับปะรด ยางพารา มะมวง กลวย และปาลมน้ำมัน
                              (1)  สับปะรด เกษตรกรนิยมปลูกพันธุปตตาเวีย เตรียมดินโดยไถปรับพื้นที่ ใหราบเรียบ
                  พื้นที่เคยปลูกสับปะรด ใหไถสับใบและตนทิ้งไวประมาณ 2-3 เดือน แลวไถกลบ 1 ครั้ง ตากดิน 7-10
                  วัน พรวนดิน 1-2 ครั้ง ยกแปลงสูง 15 เซนติเมตร แลวทำแนวปลูกสับปะรด ชุบหนอหรือจุกกอนปลูก
                  ดวยสารปองกันโรครากเนาหรือตนเนา เริ่มปลูกประมาณเดือนกุมภาพันธ ระยะปลูก 30 x 30 x (80-
                                                                                                 ั
                  90) เซนติเมตร มีการใสปุย 2 ครั้ง ครั้งแรกตนฤดูฝนประมาณเดือนเมษายน ใสปุยสูตร 21-0-0 อตรา 50
                                                                                                  ี
                  กิโลกรัมตอไร ครั้งที่ 2 ประมาณเดือนตุลาคม ใสปุยเคมีสูตร 16-16-16 อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร มการใช
                                                ี
                                                                   ่
                                                             ื
                                                                   ี
                                 ิ
                                                                           ี
                                                                       ื
                  ฮอรโมนการเจริญเตบโตและใชสารเคมในการกำจัดวัชพช เกบเกยวเดอนมนาคม ใชแรงงานคนเปนหลักในการ
                                                                ็
                  เก็บเกี่ยว ผลผลิตประมาณ 9,000-10,000 กิโลกรัมตอไร
                              (2)  ยางพารา เกษตรกรนิยมปลูกสายพันธุ RRIM 600 นิยมปลูกในชวงตนฤดูฝน
                  ประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน มีวิธีการปลูกแบบ ขุดหลุมปลูก หลุมมีขนาด 50 × 50 × 50
                  เซนติเมตร มีระยะระหวางตน 2.5 เมตร ระยะระหวางแถว 6 เมตร มีปริมาณ 70 ตนตอไร วิธีการดูแล
                  รักษา มีการใสปุยดวยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ตนฤดูฝน ประมาณเดือนเมษายน ใสปุยสูตร 16-11-14 ครั้งที่ 2
                         ู
                                                                                                    
                  ปลายฤดฝน ประมาณเดือนตุลาคม ใสปุยสูตร 16-11-14 มีอัตราการใชตนละ ประมาณ 500-600 กรัมตอไร
                  ยางพาราสามารถเปดกรีดไดเมื่ออายุประมาณ 7 ป มีขนาดเสนรอบตนไมต่ำกวา 50 เซนติเมตร ความสูง
                                                   ่
                                                                ื
                  150 เซนติเมตร จากพื้นดิน เกษตรกรเริมกรีดยางชวงเดอนพฤศจิกายน-มกราคม นิยมใชแรงงานคนเปน
                  หลักในการเกบเกยว โดยกรีด 2 วัน พก 1 วัน ผลผลิตเฉลี่ยเปนขี้ยาง 300-400 กิโลกรัมตอไร
                             ็
                                ่
                                                ั
                                ี
                              (3) มะมวง เกษตรกรนิยมปลูกพันธุน้ำดอกไม แกวขมิ้น เริ่มปลูกชวงตนฤดูฝน เริ่ม
                  ปลูกชวงเดือนกุมภาพันธถึงเดือนมีนาคม เตรียมไถดะและไถพรวน 1-2 ครั้ง แลวปรับพื้นที่ให
                                                                   ุ
                                    ่
                     ่
                  สมำเสมอ ระยะปลูกทวไป คอ ระยะ 6-8 เมตร x 6-8 เมตร ขดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร ดูแลใหน้ำ
                                         ื
                                    ั
                  ตามปกตและใหน้ำทุกครั้งหลังใหปุย การใหปุยโดยใหปุยชีวภาพ 0.5-1 กิโลกรัมตอตน ทุก ๆ 30-45 วัน
                         ิ
                  สลับกับการใหปุยเคมีสูตร 25-7-7 อนตรา 150-300 กรัม (1-2 กำมือ) ตอตน ปละ 2-3 ครัง การฉดพนไบโอ
                                                                                         ้
                                               ั
                                                                                                  
                                                                                               ี
                  เฟอรทิล (สูตรบำรุงตน ไลแมลง) อัตรา 30-50 ซีซีตอน้ำ 20 ลิตร ทุก ๆ 15-20 วัน (1-2 ครั้งตอเดือน
                  เปนประจำ) ชวงมะมวงออกดอกจะตองงดใหน้ำจนกวามะมวงเริ่มแทงชอดอกแลวจึงเริ่มใหน้ำอีก การจัด
                                                                                                      
                  ทรงหรือสรางทรงพุมมะมวง เริ่มเก็บผลผลิตในชวงเดือนพฤษภาคม-เดือนมิถุนายน อายุการเก็บเกี่ยวมีผลตอ
                  คณภาพมะมวงนิยมใชแรงงานคนเปนหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย 1,000-2,000 กิโลกรัมตอไร
                   ุ
                            
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78