Page 69 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 69

2-55




                                              ู
                                           
                                        ี
                        2.8.4  การเปรียบเทยบขอมลสภาพการใชที่ดิน ป พ.ศ.2554 ป พ.ศ.2558 และป พ.ศ.2563
                            จากการศกษารายละเอยดของสภาพการใชทดิน 3 ชวงป ไดแก ป พ.ศ. 2554 ป พ.ศ. 2558
                                     ึ
                                                                 ี่
                                                ี
                  และป พ.ศ. 2563 ในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติแกงกระจาน นำมาวิเคราะหการเปลี่ยนแปลง
                                                                                              ื
                                                                                              ้
                                                                   ึ้
                                                                              ื้
                                                                                 ี่
                             ี่
                                                                                                 ี
                                                 ี
                                         ี่
                                                                ิ่
                                                                                                 ่
                                                                                                  ึ
                  สภาพการใชทดิน พบวาพื้นทแหลงน้ำมการเปลี่ยนแปลงเพมขน นอกจากนี้พนทเกษตรกรรมในพนทศกษาฯ
                                                                              ี
                  ก็มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเชนกัน พื้นที่เกษตรกรรมสวนใหญจะเปนพื้นทสับปะรด ยางพารา ไมผลผสม
                                                                              ่
                  กลวย และปาลมน้ำมัน จากสภาพการใชที่ดิน ป 2554-2562 เกษตรกรบางรายหันมาปลูกไมผล ไมยืนตน
                  และมีการทำโรงเรือนเลี้ยงสัตวเพิ่มมากขึ้น สงผลใหพื้นที่ปาไม มีการเปลี่ยนแปลงลดลง รายละเอียด
                  ดังตารางที่ 2-14 และรูปที่ 2-17
                                       ่
                                       ี
                                                  ่
                            จากตารางท 2-15 การเปลียนแปลงสภาพการใชทดนระหวางป พ.ศ. 2554 และป พ.ศ. 2558
                                                                     ี
                                                                     ่
                                                                      ิ
                  พบวามีพื้นที่ปาไมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรมมากถึง 22,512 ไร คิดเปนรอยละ 0.85 ของพื้นที่ศึกษาฯ
                  โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่ปลูกพืชไร และไมยืนตน เชน สับปะรด และ
                                            ี่
                                                                                       
                                        ้
                                                                   ี่
                  ยางพารา เปนตน นอกจากนีพื้นทเบ็ดเตล็ดถูกเปลี่ยนเปนพื้นทเกษตรกรรม โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลง
                                                                      
                                              ี่
                  จากทุงหญาและไมละเมาะเปนพื้นทปลูกสับปะรด ยางพารา และไมผลผสม มีเนื้อที่ 14,318 ไร คิดเปนรอยละ
                                                                                          ี
                  0.54 ของพื้นที่ศึกษาฯ อยางไรก็ตาม มีพื้นที่เกษตรกรรมถกเปลี่ยนเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด มเนื้อที่ 6,053 ไร
                                                                  ู
                                                                           ี่
                                                                        ื้
                  คิดเปนรอยละ 0.23 ของพื้นที่ศกษาฯ พื้นที่ชุมชนถูกเปลี่ยนเปนพนทเกษตรกรรม3,482 ไร หรือรอยละ
                                            ึ
                  0.13 ของพื้นที่ศึกษาฯ และพื้นที่เกษตรกรรมถูกเปลี่ยนเปนพื้นทปาไม 2,069 ไร หรือรอยละ 0.08 ของ
                                                                       ี่
                  พื้นที่ศึกษาฯ
                                                                                                  ี
                            การเปลียนแปลงสภาพการใชทดนระหวางป พ.ศ. 2558 และป พ.ศ. 2563 ในตารางท 2-16
                                    ่
                                                                                                  ่
                                                       ิ
                                                      ี
                                                      ่
                                                                                                    ื้
                  จะเห็นวา พื้นทเกษตรกรรมถกเปลี่ยนเปนพนทเบ็ดเตล็ดมากถง 15,273 ไร คิดเปนรอยละ 0.58 ของพนท ี่
                                                                    ึ
                              ี่
                                                     ื้
                                                        ี่
                                         ู
                                                            ี
                  ศึกษาฯ โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงจากพื้นทปลูกสับปะรด ไมผลผสม และไรราง เปนทุงหญาและ
                                                            ่
                  ไมละเมาะ รองลงมา คือพื้นทเบ็ดเตล็ดถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรม โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลง
                                          ี
                                          ่
                  จากพื้นททุงหญาและไมละเมาะเปนพื้นทปลูกสับปะรด มีเนื้อที่ 10,321 ไร คิดเปนรอยละ 0.39 ของพื้นท ่ ี
                                                   ี
                          ่
                          ี
                                                   ่
                                                                                                  ่
                                ี
                                                                                                  ี
                                     
                                ่
                  ศึกษาฯ และพื้นทปาไมถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่เกษตรกรรม โดยสวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงจากพื้นทปาไม 
                                                                                                  ิ
                  เปนพื้นทปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน เชน สับปะรด ไมผลผสม และยางพารา มีเนื้อที่ 8,822 ไร คดเปน
                         ี่
                                                                
                  รอยละ 0.33 ของพื้นที่ศึกษาฯ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74