Page 54 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 54

2-40





                          3) คุณภาพน้ำใตดินและศักยภาพในการพัฒนาน้ำใตดิน

                                                                           ี
                                                                           ่
                                                                 ี
                                                                 ่
                            ในการศึกษาคุณภาพน้ำใตดินของพื้นทศึกษาพื้นทชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาต    ิ
                  แกงกระจาน พิจารณาจากอัตราการใหน้ำ (yield) และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไม 
                  เห็นดวยตาเปลา (TDS) เพื่อหาเนื้อที่ที่ควรสงเสริมใหมีการจัดการน้ำและการพัฒนาน้ำใตดินใหเปน
                  พื้นที่ที่เหมาะสมตอการทำการเกษตรและการอุปโภคบริโภค จากการศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอทยาน
                                                                                                  ุ
                                                                                                  
                                                                            ั
                  แหงชาติแกงกระจาน พบวาพื้นที่สวนใหญกวารอยละ 79.49 มีพื้นที่ที่มีอตราการใหน้ำ (yield) อยูในชวง
                  2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง เมื่อพิจารณารวมกับปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไม 
                  เห็นดวยตาเปลา จะพบวามีพื้นที่ที่มศักยภาพในการพัฒนาน้ำใตดิน คือ พื้นที่ที่มีอัตราการใหน้ำ (yield)
                                                 ี
                                                              ี
                                                              ่
                                                ี
                  2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง และมปริมาณของแข็งทละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลา
                                                                             
                  (TDS) ที่มีคา < 500 มิลลิกรัมตอลิตร มีเนื้อที่ 2,109,107 ไร หรือรอยละ 79.49 ของพื้นที่ชุมน้ำ พื้นท ี ่
                                                                                                      ื
                                                                                                      ่
                  ดังกลาวควรมีการสงเสริมใหมีการจัดการน้ำและการพัฒนาน้ำใตดินเพื่อการอุปโภคบริโภคหรือเพอ
                  การเกษตรจากหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป รายละเอียดดังตารางที่ 2-9 และรูปที่ 2-13
                                                                         ่
                  ตารางที่ 2-9  คุณภาพและอัตราการใหน้ำของน้ำใตดินในพื้นทีศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยาน
                               แหงชาติแกงกระจาน

                                                            ็
                        ั
                       อตราการใหน้ำ            ปริมาณของแขง                เนื้อที่ (ไร)     รอยละ
                                 
                          (Yield)        ที่ละลายเจือปนอยูในน้ำ (Tds)
                             <2                       <500                   514,872           19.40
                                                  500-1,500                    6,649            0.25

                            2-10                      <500                 2,109,107           79.49
                                                  500-1,500                   12,873            0.49
                            5-10                     >1,500                    8,665            0.33

                           10-20                      <500                       968            0.04
                            >20                       <500                        86              ns
                                                  500-1,500                      100              ns
                                       รวมทงหมด                            2,653,320         100.00
                                            ั
                                            ้
                  หมายเหตุ  : Yield คือ อัตราการใหน้ำ มีหนวยเปนลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                                                             
                          : Tds (Total dissolved solid) คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลา
                            มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตร
                  ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล (2563)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59