Page 51 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 51

2-37





                                                                                                ี
                          2) น้ำใตดิน จากขอมูลธรณีสัณฐานมาตราสวน 1: 1,000,000 กรมทรัพยากรธรณ (2563)
                  นำมาวิเคราะหชั้นน้ำที่พบในพื้นที่ชุมน้ำนานาชาตอุทยานแหงชาติแกงกระจาน มีรายละเอียดดังนี้
                                                              ิ
                  (ดังตารางที่ 2-8 และรูปที่ 2-12)
                            (1)   ชั้นหินอุมน้ำหินแกรนิต (Gr) ประกอบดวยหินแกรนิตอายุครีเทเชียส จำพวกไบโอไทต- 

                                                                                         
                  ฮอรนเบลนแกรนิต หินมัสโคไวตแกรนิต หินทัวรมาลีน-มัสโคไวตแกรนิต หินมัสโคไวต-ไบโอไทตแกรนิต
                  น้ำบาดาลถูกกักเก็บอยูภายในชองวางตามรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และชั้นหินผุความลึกถึงชั้นหินให
                                ่
                                  
                  น้ำบาดาลโดยเฉลีอยูในชวง 10-30 เมตร โดยทั่วไปใหน้ำในเกณฑนอยกวา 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                            (2)   ชั้นหินอุมน้ำหินคารบอเนตอายุเพอรเมียน (Pc) เปนกลุมหินปูนเนื้อแนน หรือ
                  หินปูนที่มีลักษณะเปนชั้น ๆ สีเทาถึงเทาเขม และมีกระเปาะหินเชิรตแทรกสลับ บางสวนมีชั้นหินดินดาน
                                                                                                      ้
                             
                              
                                                   
                                                                                       ่
                                                ็
                                          ู
                                             ั
                  แทรกสลับอยูดวย น้ำบาดาลถกกกเกบอยูภายในชองวางตามรอยแตก รอยแยก รอยเลือนและโพรงหรือถำ
                  อยางไรก็ตาม ความลึกถึงชั้นหินใหน้ำบาดาลโดยเฉลี่ยอยูในชวง 10-25 เมตร โดยทั่วไปใหน้ำในเกณฑ 
                  นอยกวา 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                            (3)   ชั้นหินอุมน้ำหินชั้นกึ่งแปรอายุเพอรเมียนคารบอนิเฟอรัส (PCms) ประกอบดวย
                  ชั้นเกลือหิน (rock salt) เปนลักษณะเดน แทรกสลับดวยหินทราย หินทรายแปง หินดินดาน สีน้ำตาลแดง
                  มวงแดง รวมถึงชั้นยิบซัม และแอนไฮไดรต มักพบทั่วไปภายในแองโคราช และแองสกลนคร มีอายุ
                                                       
                                                                                          
                  ประมาณยุคครีเทเชียส ตอนปลาย (Upper Cretaceous) โดยทั่วไปปริมาณน้ำอยูในเกณฑ 2-10
                  ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง แตในบางพื้นที่จะมปริมาณน้ำมากกวา 20 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                                                     ี
                            (4)   ชั้นหินอุมน้ำตะกอนทรายชายหาด (Qbs) ประกอบไปดวยทรายชายหาดน้ำบาดาลถก
                                                                               
                                                                                                      ู
                                                    ี
                  กกเกบอยูในชองวางระหวางตะกอนทรายทตกทบถมในบริเวณสันทรายเกา และชายหาดปจจุบันความลึกถึง
                                                                            
                                                        ั
                                                    ่
                          
                      ็
                   ั
                  ชั้นหินใหน้ำบาดาลโดยเฉลี่ยอยูในชวง 5-8 เมตร ใหน้ำในเกณฑนอยกวา 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
                            (5)   ชั้นหินอุมน้ำตะกอนน้ำพา (Qfd) ประกอบดวย กรวดทราย ทรายแปง และดินเหนียว
                                                                      
                                                      ็
                  โดยชั้นน้ำบาดาลจะเก็บอยูในชองระหวางเมดกรวด และเม็ดทรายที่สะสมตัวอยูในที่ราบลุมน้ำหลากหรือ
                                                          ่
                                                                                              ุ
                                                   
                  รองน้ำเกา ใหน้ำประมาณ 2–10 ลูกบาศกเมตรตอชัวโมง ที่ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คณภาพน้ำด  ี
                         
                                                                                 
                                (6)  ชั้นหินอุมน้ำตะกอนหินรวนกึ่งแข็งตัว (Tsc) ประกอบดวย หินโคลน หินทราย และ
                  ถานหิน น้ำบาดาลถูกกักเก็บในรอยแตก รอยแยก รอยตอระหวางชั้น และบริเวณที่หินผุ ปริมาณน้ำ
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ่
                  โดยทั่วไปอยูในชวง 2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง สวนคุณภาพน้ำที่ไดในบริเวณหินตะกอนหินรวนกง
                  แข็งตัวนั้นอยูในเกณฑดีรสจืด ความลึกที่พัฒนาน้ำบาดาลอยูในชวง 20-50 เมตร
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56