Page 49 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 49

2-35





                      2.7.2 คุณภาพน้ำ

                             1) คุณภาพน้ำผิวดิน จากรายงานโครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
                        ี
                        ่
                  ในพื้นทแมน้ำเพชรบุรี กรมควบคุมมลพิษ 2564 ไดทำการตรวจสอบคุณภาพน้ำแหลงน้ำผิวดิน ในแมน้ำ
                  เพชรบุรีของพื้นที่ศึกษาอุทยานแหงชาติแกงกระจาน โดยมีสถานีตรวจสอบคุณภาพน้ำผิวดิน 2 แหง
                  (ดังตารางที่ 2-7) คือ
                               1.1) จุดตรวจวัด สถานีบริเวณสะพานสองพี่นอง อำเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ซง
                                                                                                      ึ่
                  ทำการวัดคา ในวันที่ 5 สิงหาคม 2564 พบวาคาดัชนีคุณภาพน้ำ (WQI) เทากับ 68 แสดงวาคุณภาพน้ำผิว
                                             
                  ดินของแมน้ำเพชรบุรีอยูในเกณฑพอใช สวนคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) เทากับ 5.8 สงผลตอ
                                                                                                      
                                                                                                   
                  การเจริญเติบโตของสัตวน้ำ ซึ่งทำใหปลาตัวใหญสามารถดำรงชีวิตอยูได แตปลาตัวเล็ก ๆ อยูไมได และ
                  ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีคุณภาพของน้ำปนเปอนอยูในระดับปานกลาง สามารถนำไปใชใน
                                           
                                ุ
                  การเกษตรและอตสาหกรรมได
                                                                              
                                                                                                    ึ่
                               1.2) จุดตรวจวัด บริเวณทายเขื่อนแกงกระจาน อำเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ซงทำ
                  การวัดคา ในวันที่ 5 สิงหาคม 2564 พบวาคาดัชนีคุณภาพน้ำ (WQI) เทากับ 82 แสดงวาคุณภาพน้ำผิวดิน
                  ของแมน้ำเพชรบุรีอยูในเกณฑดี สวนคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) เทากับ 6.7 สงผลตอการ
                                                                                         
                                      ่
                                                                           
                        ิ
                                                                                            
                                                                                           
                                                ั
                  เจริญเตบโตของสัตวน้ำ ซงทำใหปลาตวใหญสามารถดำรงชีวิตอยูได แตปลาตัวเล็ก ๆ อยูไมได และปริมาณ
                                                     
                                                                        
                                      ึ
                  ออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีคุณภาพของน้ำปนเปอนอยูในระดับปานกลาง สามารถนำไปใชในการเกษตร
                       ุ
                  และอตสาหกรรมได  
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54