Page 15 - Lower Songkhram River Basin
P. 15

1-3





                                    (2.3.4) คุณภาพน้ำผิวดิน ศึกษาจากขอมูลรายงานผลการตรวจคุณภาพน้ำ

                  จากสถานีตรวจวัดคุณภาพน้ำของกรมควบคุมมลพิษ
                                (2.4)  ภูมิอากาศ เปนการศึกษาสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป และขอมูลภูมิอากาศ
                  จากกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดนครพนมในรอบ 15 ป (ชวงป พ.ศ. 2549-2564)

                  รวมถึงพิจารณาสมดุลของน้ำเพื่อการเกษตร
                                (2.5)  ทรัพยากรดิน เปนการศึกษาถึงลักษณะของดินเพื่อยืนยันลักษณะการเกิด
                  ของพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง รวมถึงลักษณะดินโดยรวมที่มีลักษณะของดินชุมน้ำ โดยศึกษา
                  จากขอมูลกลุมชุดดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000

                                (2.6)  สภาพการใชที่ดิน เปนการศึกษาถึงการใชที่ดินของพื้นที่ศึกษา โดยพิจารณา
                  จากขอมูลสภาพการใชที่ดินตลอดระยะเวลา 12 ป ยอนหลังของกรมพัฒนาที่ดิน ไดแก ป พ.ศ. 2552
                  2556 และ 2561 จากนั้นทำการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษา
                                (2.7)  ขอมูลดานเกษตรกรรม เปนการศึกษาขอมูลดานการเกษตรในพื้นที่ โดยศึกษา

                  ถึงสภาพการใชที่ดินในปปจจุบันเปรียบเทียบกับขอมูลประเภทการใชที่ดินในอดีต เพื่อศึกษาถึงการ
                  เปลี่ยนแปลงดานการเกษตรในพื้นที่ศึกษา และทำการประเมินความเหมาะสมของที่ดินบริเวณพื้นที่ศึกษา
                  ตามหลักเกณฑการประเมินของ FAO
                                (2.8)  ขอมูลดานกฎหมาย เปนการศึกษาถึงขอมูลดานกฎหมายที่เกี่ยวกับการอนุรักษ

                  ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ขอมูลของเขตอุทยานแหงชาติ ขอมูลเขตปาตามกฎหมาย ประกอบดวย
                  ขอมูลเขตหามลาสัตวปา เขตปาสงวนตามมติคณะรัฐมนตรี ป 2535 ขอมูลเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ
                  เกษตรกรรม ขอมูลขอบเขตชั้นคุณภาพลุมน้ำ ขอมูลขอบเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี

                            2) ดานทรัพยากรธรรมชาติ เปนการศึกษาโดยวิเคราะหขอมูลจากขอมูลทุติยภูมิเพื่อ
                  สรุปเปนขอมูลดานพืชพรรณ ประมง และสัตวปา


                            3) ดานเศรษฐกิจและสังคม เปนการวิเคราะหจากขอมูลทุติยภูมิที่ไดจากหนวยงานตาง ๆ
                  ที่เกี่ยวของเปนการเบื้องตน
                        1.4.3 การวิเคราะหเพื่อวางแผนการใชที่ดินและกำหนดแนวทางการใชประโยชนที่ดิน
                  ทำการสังเคราะหขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลดานกายภาพ ดานทรัพยากรธรรมชาติ และดานเศรษฐกิจ
                  และสังคม มาพิจารณากำหนดเขตการใชที่ดิน โดยพิจารณากำหนดแนวทางการวางแผนการใชที่ดิน

                  เปน 2 เขตหลัก คือ เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ หรือเขตพื้นที่แรมซารไซต
                  และเขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอมนอกเขตแรมซารไซต โดยมีรายละเอียดดังนี้
                            1) เขตพื้นที่แรมซารไซต เปนเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

                  ตามกฎหมาย เปนเขตพื้นที่อยูภายใตเขตพื้นที่ที่กำหนดตามกฎหมาย กำหนดเขตเปนเขตคุมครองสภาพปา
                  เขตฟนฟูสภาพปาอนุรักษ เขตบำรุงรักษาสภาพปา เขตฟนฟูสภาพปาเพื่อเศรษฐกิจ เขตรักษาสมดุล
                  สภาพแวดลอมในเขตแรมซารไซต เขตคงสภาพพื้นที่ชุมน้ำในเขตปาตามกฎหมาย และเขตคงสภาพ
                  พื้นที่ชุมน้ำนอกเขตปาตามกฎหมาย

                            2) เขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอมนอกเขตแรมซารไซต ประกอบดวย เขตปาไม ไดแก
                  เขตปาไมเพื่อการอนุรักษ (เขตคุมครองสภาพปา เขตฟนฟูสภาพปาอนุรักษ และเขตฟนฟู
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20