Page 20 - Lower Songkhram River Basin
P. 20

2-4





                  2.3  สภาพภูมิประเทศ


                        ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง สวนใหญมีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่คิดเปนรอยละ 43.11 ของพื้นที่ศึกษา รองลงมาเปนพื้นที่ลูกคลื่น
                  ลอนลาดเล็กนอย และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด โดยคิดเปนรอยละ 37.49 และ 3.57 ตามลำดับ และพื้นที่อื่น ๆ

                  มีเนื้อที่รอยละ 3.91 ของพื้นที่ศึกษา โดยมีพื้นที่น้ำ คิดเปนเนื้อที่รอยละ 11.92 ของพื้นที่ศึกษา
                  และพื้นที่อื่น ๆ คิดเปนเนื้อที่รอยละ 3.91 ของพื้นที่ศึกษา รายละเอียดดังตารางที่ 2-1 และ รูปที่ 2-2

                  ตารางที่ 2-1 ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง


                                               ความลาดชัน                                  เนื้อที่
                         ลักษณะสภาพพื้นที่                    ชนิดพืชพรรณสวนใหญ
                                                 (รอยละ)                               ไร     รอยละ

                   พื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ   0-2   นาขาว พื้นที่ลุม และไมยืนตน   244,333      43.11

                   พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย   2-5      ไมยืนตน นาขาว และปาไม    212,481      37.49
                   พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด           5-12     ไมยืนตน ปาไม และนาขาว      20,203       3.57

                   พื้นที่น้ำ                                                          67,567      11.92

                   พื้นที่อื่นๆ                                                        22,138       3.91

                                                 รวม                                 566,722    100.00
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25