Page 23 - Lower Songkhram River Basin
P. 23

2-7





                          2) ปริมาณน้ำฝน

                            พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง มีปริมาณน้ำฝน 1,993.8 มิลลิเมตร โดยในเดือน
                  กรกฎาคม มีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด 466.7 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมมีปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ
                  4.7 มิลลิเมตร

                          3) ปริมาณฝนใชการ (Effective Rainfall: ER)
                            ปริมาณฝนใชการ คือ ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใชประโยชนได
                  ภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวดวยน้ำแลวไหลบาออกมากักเก็บในพื้นดินพื้นที่ชุมน้ำ
                  แมน้ำสงครามตอนลาง มีปริมาณน้ำฝนใชการ 1,025.5 มิลลิเมตร ในเดือนกรกฎาคมมีปริมาณน้ำฝนใชการ

                  มากที่สุด 171.7 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมมีปริมาณฝนใชการนอยที่สุด คือ 4.7 มิลลิเมตร
                          4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                            พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง พบวา มีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดปรอยละ 76
                  ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดป 110.0 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 132.6 มิลลิเมตร

                  ในเดือนเมษายน ปริมาณการคายระเหยต่ำสุด 94.2 มิลลิเมตร ในเดือนธันวาคม
                          5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ
                          การวิเคราะหชวงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใชขอมูล
                  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ำของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)

                  ซึ่งคำนวณและพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ำฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวงระยะเวลา
                  ที่เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจพื้นที่ชุมน้ำ
                  แมน้ำสงครามตอนลาง สามารถสรุปไดดังนี้ (รูปที่ 2-3)
                            (1) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืช เปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการปลูกพืช

                  ซึ่งเปนชวงฤดูฝนปกติอยูในชวงระหวางตนเดือนเมษายนถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งในชวงกลางเดือน
                  ตุลาคมนั้น เปนชวงที่มีปริมาณน้ำฝนเพียงเล็กนอยแตเนื่องจากมีปริมาณน้ำที่สะสมไวในดิน จึงมีความชื้น
                  ในดินเพียงพอสำหรับปลูกพืชอายุสั้นได แตควรมีการวางแผนจัดการระบบการเพาะปลูกใหเหมาะสม
                  สำหรับพื้นที่เพาะปลูกแตละแหง เนื่องจากอาจตองอาศัยน้ำจากแหลงน้ำในไรนาหรือน้ำชลประทาน

                  ชวยในการเพาะปลูกบาง
                            (2) ชวงระยะเวลาที่มีน้ำมากเกินพอ เปนชวงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุก อยูในชวง
                  ระหวางปลายเดือนเมษายนถึงตนเดือนตุลาคม

                            (3) ชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสมตอการปลูกพืชโดยอาศัยน้ำฝน เนื่องจากมีปริมาณฝน
                  และการกระจายของฝนนอย ทำใหดินมีความชื้นไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืชอยูในชวงปลาย
                  เดือนตุลาคมถึงตนเดือนเมษายน ซึ่งในชวงเวลาดังกลาวถาพื้นที่เพาะปลูกแหงใดมีการจัดการระบบ
                  ชลประทานที่ดีก็สามารถปลูกพืชฤดูแลงได
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28