Page 26 - Lower Songkhram River Basin
P. 26

2-10





                  ตารางที่ 2-3  ประเภทหนวยที่ดินในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง จำแนกตามสภาพ

                                พื้นที่และการจัดการพื้นที่เพาะปลูก

                                      ประเภทหนวยที่ดิน                      เนื้อที่ (ไร)   รอยละ

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม                                   161,679         28.54
                   หนวยที่ดินในพื้นที่ลุมทั่วไป                              145,915        25.75

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการยกรอง (M2)                  14,882         2.63
                   หนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการพูนโคน (M4)                     882         0.16

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน                                    298,394         52.65

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอนทั่วไป                               196,085        34.60
                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอนที่มีการทำคันนา (M3)                 102,309        18.05

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ที่ลุม                             16,944          2.98
                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ที่ลุมทั่วไป                        10,388         1.83

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ที่ลุมที่มีการยกรอง (M2)              639         0.11
                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ที่ลุมที่มีการพูนโคน (M4)              137         0.02

                   หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ที่ลุมที่มีการทำคันนา (M3)           5,780         1.02
                   หนวยเบ็ดเตล็ด                                              89,705         15.83

                   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง                                 22,138         3.91
                   พื้นที่น้ำ                                                   67,567        11.92

                                          รวมเนื้อที่                         566,722        100.00

                             เมื่อพิจารณาลักษณะและสมบัติของดินในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
                  สามารถจำแนกหมวดหมูตามลักษณะและสมบัติของดินเปนประเภทกลุมดินไดดังตารางที่ 2-4

                  และรูปที่ 2-5
                             จากตารางที่ 2-4 และรูปที่ 2-5 พบวาในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
                  พบกลุมดินรวนหยาบมากที่สุด มีเนื้อที่ 135,222 ไร หรือรอยละ 23.86 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำ
                  แมน้ำสงครามตอนลาง รองลงมาคือ กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 103,113 ไร หรือรอยละ 18.20 ของพื้นที่

                  ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง กลุมเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 89,705 ไร หรือรอยละ 15.83 ของพื้นที่
                  ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง กลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 65,866 ไร หรือรอยละ 11.62 ของพื้นที่
                  ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 51,352 ไร หรือรอยละ 9.06 ของพื้นที่
                  ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง กลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด มีเนื้อที่ 49,011 ไร

                  หรือรอยละ 8.65 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง และกลุมดินอื่น ๆ มีเนื้อที่ 72,453 ไร
                  หรือรอยละ 12.78 ของพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31