Page 14 - Lower Songkhram River Basin
P. 14

1-2





                  1.3  ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินงาน

                        1.3.1 ระยะเวลา        1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
                        1.3.2  สถานที่ดำเนินงาน   พื้นที่ศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ

                  ระหวางประเทศแมน้ำสงครามตอนลาง เนื้อที่ประมาณ 566,722 ไร ครอบคลุมพื้นที่ 7 อำเภอ คือ
                  อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร อำเภอทาอุเทน อำเภอบานแพง อำเภอศรีสงคราม อำเภอนาหวา
                  อำเภอโพนสวรรค และอำเภอนาทม จังหวัดนครพนม

                  1.4  ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน

                        1.4.1 การรวบรวมและศึกษาขอมูลทุติยภูมิ
                            รวบรวมขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของดานกายภาพ ชีวภาพ และสังคมสิ่งแวดลอม รวมถึงขอมูล
                  แผนที่ภาพถายทางอากาศ และขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
                        1.4.2 วิเคราะหขอมูลเบื้องตนดานกายภาพ ดานทรัพยากรธรรมชาติ และดานเศรษฐกิจและสังคม

                            1) ดานกายภาพ
                              (1) นำเขาขอมูลขอบเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ (สำนักงานนโยบาย

                  และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2564) ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อกำหนดขอบเขต
                  พื้นที่ศึกษา โดยกำหนดพื้นที่ศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร จากขอบเขตพื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง
                  ที่ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ สำหรับหลักเกณฑในการกำหนดพื้นที่ศึกษา
                  ในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำ อางอิงจากงานวิจัยของสำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดลอม สวนใหญไดมีการศึกษาสถานภาพพื้นที่ชุมน้ำในพื้นที่ศึกษาในระยะรัศมี 5 กิโลเมตร
                  รอบพื้นที่ชุมน้ำ จึงไดนำหลักเกณฑดังกลาวมาใชในการศึกษาในโครงการแผนการใชที่ดินเพื่อบริหาร
                  จัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแมน้ำสงครามตอนลาง แหงนี้
                              (2) นำเขาและจัดทำขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรดานกายภาพ ประกอบดวยขอมูลดังนี้

                                (2.1)  ลักษณะภูมิประเทศ ศึกษาจากการนำเขาขอมูลแผนที่ลักษณะภูมิประเทศ
                  มาตราสวน 1:50,000 แลวนำมาซอนทับกับขอบเขตพื้นที่ศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำ
                  แมน้ำสงครามตอนลาง โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                                (2.2)  ขอบเขตการปกครอง ศึกษาจากการนำเขาขอมูลแผนที่ขอบเขตการปกครอง

                  ในรูปไฟลดิจิทัลจากกรมการปกครอง (2556) ทำการซอนทับกับขอบเขตพื้นที่ศึกษา
                                (2.3)  ลักษณะทางอุทกวิทยา เปนการศึกษาถึงสภาพของลุมน้ำหลักและลุมน้ำ
                  สาขาโดยใชขอมูลขอบเขตลุมน้ำหลักและลุมน้ำสาขาจากกรมทรัพยากรน้ำ (2550) มาตราสวน 1:50,000

                  ซอนทับกับขอบเขตพื้นที่ศึกษารอบ ๆ พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง โดยศึกษาขอมูลดังนี้
                                    (2.3.1) ลักษณะทางอุทกวิทยาของพื้นที่
                                    (2.3.2) ปริมาณน้ำทา
                                    (2.3.3) น้ำใตดิน โดยศึกษาถึงชั้นหินใหน้ำจากขอมูลธรณีสัณฐาน
                  (กรมทรัพยากรธรณี, 2556) มาตราสวน 1:1,000,0000 มาซอนทับกับพื้นที่ศึกษา และพิจารณา

                  ถึงคุณภาพน้ำใตดิน และศักยภาพในการพัฒนาน้ำใตดินในพื้นที่ศึกษา
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19