Page 88 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 88

3-54





                  ตารางที่ 3-19 การประเมินปริมาณความตองการใชน้ำดิบในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-

                                ประจวบคีรีขันธ

                                                     ความตองการน้ำดิบ (ลานลูกบาศกเมตร/ป)
                        ชื่อลุมน้ำ
                                          2552         2557          2562         2567          2572
                   ลุมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-  23.4        29.8         37.925        46.05        54.175

                     ประจวบคีรีขันธ

                  ที่มา : กองพัฒนาแหลงน้ำ ฝายทรัพยากรน้ำ การประปาสวนภูมิภาค (2552)
                            (3)  ความตองการน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม

                              สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (2555) ไดเผยแพรขอมูลการศึกษา
                  ความตองการใชน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม เปนการศึกษาถึงความตองการน้ำเพื่อการอุตสาหกรรมของ
                  โรงงานประเภทตาง ๆ ในเขตพื้นที่ลุมน้ำ ซึ่งมีความตองการใชน้ำที่แตกตางกันตามประเภทของโรงงาน
                  อุตสาหกรรม ไดจำแนกไวเปน 10 ประเภท ตามความตองการใชน้ำของประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม

                  โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                              การประเมินความตองการใชน้ำเพื่อการอุตสาหกรรมใชฐานขอมูลจากทะเบียนโรงงาน
                  อุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยนำขอมูลในสวนของผลิตภัณฑที่แตละ
                  โรงงานผลิตไดมาคูณกับอัตราการใชน้ำตอหนวยผลิตภัณฑประเภทตางๆ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมได

                  ประเมินไว หลังจากนั้นจะรวมปริมาณการใชน้ำของโรงงานตาง ๆ ที่อยูในพื้นที่ลุมน้ำเขาดวยกัน
                              สวนการคาดการณปริมาณการใชน้ำเพื่อการอุตสาหกรรมในอนาคต จะอาศัยแนวโนม
                  ของอัตราการเติบโตผลิตภัณฑมวลรวมภาคอุตสาหกรรมรายจังหวัดในปยอนหลังมาคาดการณคาในอนาคต

                  เพื่อหาอัตราการเติบโตภาคเศรษฐกิจดังกลาว แลวนำอัตราสวนนี้มาคำนวณปริมาณการใชน้ำ
                  เพื่อการอุตสาหกรรมในอนาคต กรมทรัพยากรน้ำ (2548) พบวา ลุมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                  มีความตองการน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม รวมประมาณ 184.286 ลานลูกบาศกเมตรตอป
                            (4) ปริมาณการใชน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศนทายน้ำ การรักษาระบบนิเวศนทายน้ำ
                  มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการรักษาสมดุลนิเวศวิทยาบริเวณทายน้ำ โดยการวางแผนการใชน้ำและการบริหาร

                  จัดการน้ำที่เหมาะสมและเปนธรรมแกผูใชน้ำ ทั้งบริเวณตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เนื่องจากการใชน้ำ
                  ในพื้นที่บริเวณตนน้ำ สงผลกระทบตอน้ำในบริเวณพื้นที่กลางน้ำและปลายน้ำ ซึ่งการรักษาระบบนิเวศนทายน้ำ
                  ทำไดโดยการกําหนดอัตราการไหลของน้ำขั้นต่ำในฤดูแลงของลําน้ำนั้น ๆ ซึ่งทําการประเมิน

                  จากอัตราการไหลรายวัน ในชวงระยะเวลาระหวางเดือนมกราคมถึงเมษายน (ชวงที่มีอัตราการไหล
                  ของน้ำต่ำสุด) จากนั้นทําการวิเคราะหขอมูลสถิติปริมาณน้ำทาที่สถานีวัดน้ำในลุมน้ำ ซึ่งคาอัตราการไหล
                  ต่ำสุดที่ไดเปนคาที่ความมั่นคงไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลา ณ สถานีที่นํามาวิเคราะห ผลที่ได
                  จะนํามากําหนดอัตราการไหลขั้นต่ำ (Minimum Flow) ในทุกลําน้ำของลุมน้ำยอย ตอพื้นที่รับน้ำ

                  1 ตารางกิโลเมตร












                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93