Page 85 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 85

3-51





                              (1.7) รูปแบบการปลูกพืช (Crop Pattern) สําหรับลุมน้ำยอยตาง ๆ

                  ไดจากการรวบรวมขอมูลจัดเก็บของหนวยงานในพื้นที่กรมชลประทานและเกษตรจังหวัด อําเภอ เปนตน
                              จากการรวบรวมและทบทวนผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาโครงการจัดทำแผน
                  รวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ (กรมทรัพยากรน้ำ, 2549)

                  และโครงการพัฒนาระบบคลังขอมูล 25 ลุมน้ำ และแบบจำลองน้ำทวมน้ำแลง (ศูนยปองกันวิกฤติน้ำ
                  กรมทรัพยากรน้ำ, ม.ป.ป.) พบวา ความตองการน้ำเพื่อการเพาะปลูกพืชในเขตชลประทานในพื้นที่ลุมน้ำ
                  หลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ คือ 1,480.75 ลานลูกบาศกเมตรตอป

                                  -  พื้นที่เพาะปลูกในเขตเกษตรน้ำฝน ใชแบบจำลอง Soil and Water
                  Assessment Tool (SWAT) ในการคำนวณหาปริมาณความตองการใชน้ำในพื้นที่เกษตรน้ำฝนนั้น
                  ใชขอมูลพารามิเตอรตาง ๆ ไดแก ขอมูลสภาพการใชประโยชนที่ดิน ขอมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลข
                  (Digital Elevation Model: DEM) ขอมูลดิน ขอมูลสภาพภูมิอากาศ ขอมูลปริมาณน้ำทา
                  ขอมูลคุณภาพน้ำ ขอมูลเศรษฐกิจและสังคม และขอมูลที่ไดจากการสำรวจภาคสนาม
                  สำหรับการตรวจสอบสภาพการใชประโยชนที่ดิน
                              จากการรวบรวมและทบทวนผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาโครงการจัดทำแผน

                  รวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ, กรมทรัพยากรน้ำ,
                  (2548) พบวา ความตองการใชน้ำเพื่อการเกษตรหรือความตองการน้ำเพื่อการชลประทาน
                  ประเมินจากขอมูลปริมาณการใชน้ำของพืชรวมกับพื้นที่เพาะปลูก ผลการประเมินความตองการน้ำ
                  เพื่อการชลประทาน ในสภาพปจจุบัน ลุมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธมีความตองการน้ำ

                  ชลประทานประมาณ 1,480.75 ลานลูกบาศกเมตรตอป โดยพื้นที่ของโครงการชลประทานแมน้ำ
                  เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธใหญซึ่งอยูในเขตลุมน้ำสาขาที่ราบแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                  เปนพื้นที่มีความตองการน้ำสูงที่สุด 625.65 ลานลูกบาศกเมตรตอป นอกจากนี้พี้นที่เพาะปลูกนอกเขต
                  ชลประทานยังมีความตองการน้ำ 1494.06ลานลูกบาศกเมตรตอป

                                  -  ความตองการใชน้ำเพื่อการปศุสัตว การคำนวณปริมาณการใชน้ำ
                  เพื่อกิจกรรมปศุสัตว จะใชขอมูลจำนวนสัตวแตละประเภทในพื้นที่ มาวิเคราะหรวมกับขอมูลอัตราการ
                  ใชน้ำตอตัวตอวันของสัตว ซึ่งอัตราการใชน้ำของสัตวแตละประเภทนั้นจะมีความแตกตางกัน กลาวคือ
                  สุกร มีอัตราการใชน้ำเฉลี่ย 0.02 ลูกบาศกเมตรตอตัวตอวัน โค และกระบือ มีอัตราการใชน้ำเฉลี่ย 0.08
                  ลูกบาศกเมตรตอตัวตอวัน แพะ และแกะ มีอัตราการใชน้ำเฉลี่ย 0.015 ลูกบาศกเมตรตอตัวตอวัน ไก
                  มีอัตราการใชน้ำเฉลี่ย 0.003 ลูกบาศกเมตรตอตัวตอวัน เปด และสัตวประเภทอื่น ๆ มีอัตราการใชน้ำ
                  เฉลี่ย 0.015 ลูกบาศกเมตรตอตัวตอวัน

                              สำหรับการคาดการณปริมาณการใชน้ำเพื่อการปศุสัตวในอนาคตจะใชขอมูลแนวโนม
                  ของอัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑมวลรวมภาคการเกษตรรายจังหวัด ในปยอนหลังมาคาดการณในอนาคต
                  เพื่อหาอัตราการเติบโตภาคเศรษฐกิจดังกลาว แลวนําอัตราสวนนี้มาคํานวณปริมาณการใชน้ำ
                  เพื่อการปศุสัตวในอนาคต จากการรวบรวมและทบทวนผลการศึกษาจากรายงานโครงการพัฒนาระบบ

                  คลังขอมูล 25 ลุมน้ำ และแบบจำลองน้ำทวมน้ำแลง (ศูนยปองกันวิกฤติน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ, ม.ป.ป.)
                  พบวา พื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธมีปริมาณความตองการใชน้ำเพื่อการปศุสัตว
                  ประมาณ 18.198 ลานลูกบาศกเมตรตอป และความตองการน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ
                  ประมาณ 33.514 ลานลูกบาศกเมตรตอป





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90