Page 80 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 80

3-46





                  ไวเกือบหมด สวนบรรดาสารอินทรียบางชนิดที่ละลายอยูในน้ำจะถูกแบคทีเรียในดินทำลายไปเกือบหมด

                  ดวยเชนกัน
                            การพัฒนาแหลงน้ำใตดิน จัดเปนแนวทางการพัฒนาทรัพยากรน้ำดานหนึ่งที่สามารถ
                  ชวยเหลือประชากรในเขตพื้นที่ลุมน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตรในชวงฤดูแลงไดเปนอยางดี

                  เนื่องจากในบางครั้ง น้ำผิวดินที่มีอยูอาจไมเพียงพอตอการใชในพื้นที่ลุมน้ำ จากการวิเคราะหโดยใช
                  เครื่องมือสารสนเทศภูมิศาสตร รวมกับขอมูลพิดกัดบอบาบาล (กรมทรัพยากรน้ำบาดาล, 2556)
                  ขอบเขตลุมน้ำ และขอบเขคการปกครอง พบวา บอบาดาลตั้งกระจายอยูในพื้นที่ลุมหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ ตามจังหวัดตาง ๆ ไดแก จังหวัดสมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ

                  และชุมพร โดยขอมูลบอบาดาลจะแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก บอบาดาลเพื่อการอุปโภค-บริโภค
                  และบอบาดาลเพื่อการเกษตร ดังตารางที่ 3-15 ดังนี้































































                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85