Page 75 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 75

3-41





                        ประสิทธิภาพชลประทาน

                        การบริหารจัดการน้ำตองตั้งอยูบนหลักการสำคัญวาตองจัดสรรทรัพยากรน้ำใหอยางทั่วถึง
                  ไมวาจะเปนดานการพัฒนาระบบชลประทานใหมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการพัฒนาดานการเกษตรกรรม
                  การพลังงานการสาธารณูปโภคการอุตสาหกรรมการคมนาคมทางน้ำและการปองกันความเสียหาย

                  อันเกิดจากน้ำของประเทศดวยโดยที่น้ำมีอยูอยาง จำกัด และเปนปจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิต
                  ของประชาชน และเพิ่มประสิทธิภาพชลประทาน จัดระบบการปลูกใหมีความสัมพันธการใชน้ำของพืช
                        การหาประสิทธิภาพชลประทานที่ใชกันอยู มีคำนิยามแตกตางกัน คำนิยามที่ใชในที่นี้คือ
                  ประสิทธิภาพชลประทาน =(ปริมาณน้ำที่พืชตองการตามทฤษฎี+การรั่วซึมบนแปลงเพาะปลูกฝนใชการ)

                  /ปริมาณน้ำที่สง เปนการหาประสิทธิภาพชลประทานจากขอมูลการ operate โครงการชลประทาน
                  ที่ผานไปแลวสำหรับขอมูลสำคัญที่นำมาใชคือ ปริมาณน้ำใชในการเตรียมแปลงสำหรับเพาะปลูกขาว
                  การรั่วซึมบนแปลงเพาะปลูกและฝนใชการ โดยอางอิงถึงขอมูลที่ไดมีการ monitor ในสนาม ปริมาณน้ำ
                  ที่พืชตองการตามทฤษฎี ฝนใชการคำนวณเปนรายสัปดาห และประสิทธิภาพชลประทานคำนวณเปนฤดู

                  (สำนักงานชลประทานที่ 6, 2558)






























                  รูปที่ 3-23 ประสิทธิภาพการชลประทาน
                  ที่มา : วราววุธ (2552)





















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80