Page 71 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 71

3-37





                  3.6 ระบบชลประทาน และการประเมินความตองการน้ำ

                        การชลประทาน หมายความวา "กิจการที่รัฐบาลจัดทำเพื่อสงน้ำ จากทางน้ำหรือแหลงน้ำไปใช
                  ในการเพาะปลูก และหมายความถึงการปองกันการเสียหายแกการเพาะปลูกอันเกี่ยวกับน้ำ

                  ทั้งรวมถึงการคมนาคมทางน้ำ ซึ่งอยูในเขตชลประทานนั้นดวย" ซึ่งจะเห็นวา การชลประทาน
                  ในพระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร นอกจาก จะหมายถึง การสงน้ำเพื่อการเพาะปลูกแลว
                  ยังใหหมายรวมถึงกิจการประเภทอื่น ที่เปนประโยชนตอการเพาะปลูก อีก 3 ประเภท คือ การเก็บน้ำ
                  การระบายน้ำและการบรรเทาอุทกภัยดวย สวนความหมายในพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง

                  ยังมีการคมนาคมทางน้ำ เพิ่มขึ้นมาอีกประเภทหนึ่งดวย มีวัตถุประสงคของการชลประทาน การเก็บน้ำ
                  (Storage of Water หรือ Water Conservation) การสงน้ำเพื่อการเพาะปลูก (Irrigation) การระบายน้ำ
                  (Drainage) การแปรสภาพที่ดิน (Land Reclamation) การบรรเทาอุทกภัย (Flood Control)
                  การไฟฟาพลังน้ำ (Hydro Power) และการคมนาคมทางน้ำ (Inland Navigation)

                        การใชน้ำในภาคเศรษฐกิจตาง ๆ ของประเทศแบงออกไดเปน 5 ประเภท ไดแก (1) การใชน้ำเพื่อ
                  การเกษตร-ชลประทานและการปศุสัตว (2) การใชน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค (3) การใชน้ำในโรงงาน
                  อุตสาหกรรมและการทองเที่ยว (4) การใชน้ำในการผลิตไฟฟา และ (5) การใชน้ำในการรักษาสมดุล

                  นิเวศทายน้ำ ดังนั้น การประเมินความตองการใชน้ำสำหรับกิจกรรมตาง ๆ ตองมีความสอดคลอง
                  กับการใชน้ำในภาคเศรษฐกิจ ซึ่งแบงออกเปน 5 ประเภท คือ ความตองการน้ำเพื่อการเกษตร
                  เพื่อการอุปโภคบริโภค เพื่อการอุตสาหกรรม เพื่อการทองเที่ยว และเพื่อรักษาสมดุลนิเวศวิทยาทายน้ำ

                  โดยความตองการน้ำเพื่อการเกษตรไดรวมความตองการน้ำในโครงการชลประทาน
                        1) ความตองการใชน้ำเพื่อการชลประทาน ความตองการน้ำเพื่อการชลประทาน ประกอบดวย
                  ความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทานขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สูบน้ำดวยไฟฟาและพื้นที่
                  ชลประทานราษฎร โดยผลการประเมินความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทานประเภทตาง ๆ

                  และสัดสวนความตองการน้ำเพื่อโครงการชลประทานตาง ๆ ตอความตองการน้ำเพื่อการชลประทาน
                  ทั้งหมดทั้งในสภาพปจจุบันและอนาคต ความตองการน้ำเพื่อการชลประทานแยกเปน 3 กลุมโครงการ
                  ไดแก (1) โครงการชลประทานขนาดใหญและขนาดกลางที่มีพื้นที่ตั้งแต 30,000 ไร (2) โครงการขนาดกลาง

                  ที่มีพื้นที่นอยกวา 30,000 ไร โครงการชลประทานขนาดเล็กและโครงการสูบน้ำดวยไฟฟา
                  (3) โครงการชลประทานราษฎรหรือพื้นที่เกษตรที่มีศักยภาพในการใชน้ำจากลำน้ำ
                        2) ความตองการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคการประเมินความตองการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
                  คำนวณไดจากอัตราการใชน้ำคูณกับจำนวนประชากร โดยจำนวนประชากรไดขอมูลจากกรมการปกครอง

                  กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเปนหนวยงานที่ไดทำการรวบรวมขอมูลจำนวนประชากร อัตราการเปลี่ยนแปลง
                  และความหนาแนนของประชากร จำแนกตามเขตการปกครองเปนรายอำเภอ โดยขอมูลที่ใชเปนขอมูล
                  ลาสุด ในสวนของอัตราการใชน้ำจะแตกตางกันในแตละประเภทชุมชนซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

                  (1) ชุมชนชนบท คิดจากประชากรที่อยูนอกเขตเมือง เชน นอกอำเภอเมือง นอกเขตเทศบาล
                  นอกเขตสุขาภิบาล โดยคำนวณจากอัตราการใชน้ำในเขตชนบทโดยทั่วไปของประเทศไทยมีคาประมาณ
                  100 ลิตรตอคนตอวัน ในปจจุบันและ 120 ลิตรตอคนตอวันในอนาคต ซึ่งถูกกำหนดโดยอาศัยความจำเปน
                  ขั้นพื้นฐาน (จปฐ) และการศึกษาวิจัยที่ผานมา (2) เขตเมือง แบงตามขนาดกลุมประชากร







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76