Page 93 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 93

3-59





                          3.7.2 การจำแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ

                  การจำแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติและมติคณะรัฐมนตรี
                  วันที่ 17 มีนาคม 2535 เรื่อง ผลการจำแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปา
                  สงวนแหงชาติเพิ่มเติม ในการกำหนดพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ โดยการจำแนกเปนเขตตาง ๆ

                  ตามการใชประโยชนทรัพยากร และที่ดินปาไมได 3 เขต (Zone) (ตารางที่ 3-22 และรูป 3-25)
                  รายละเอียดดังนี้
                              1) เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (Zone C) เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ หมายถึง
                  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ที่กำหนดไว เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม ดิน น้ำ พันธุพืช และพันธุสัตวที่มีคุณคา

                  หายาก เพื่อการปองกันภัยธรรมชาติอันเกิดจากน้ำทวมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้งเพื่อประโยชน
                  ในดานการศึกษา การวิจัย นันทนาการของประชาชนและความมั่นคงของชาติ แบงออกเปน 2 สวน คือ
                  (1) พื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี พื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายและมติ
                  คณะรัฐมนตรี หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่ไดประกาศเปนพื้นที่ปาอนุรักษ ตามกฎหมายและมติ

                  คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไปแลว พื้นที่ลักษณะนี้ ไดแก พื้นที่เขตรักษา
                  พันธุสัตวปา ที่ไดประกาศโดยพระราช-กฤษฎีกาตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ.
                  2535 พื้นที่อุทยานแหงชาติ ที่ไดประกาศโดยพระราชกฤษฎีกาตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ
                  พ.ศ. 2504 พื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 ตามผลการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ โดยสำนักงานคณะกรรมการ

                  สิ่งแวดลอมแหงชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี พื้นที่เขตอนุรักษปาชายเลน ตามผลการจำแนกเขตการใช
                  ประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลนประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี (2) พื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม นั้น
                  หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่มีสภาพปาสมบูรณหรือมีศักยภาพเหมาะสมตอการอนุรักษธรรมชาติ
                  เพื่อรักษาไวซึ่งความสมดุลของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก พื้นที่ปาที่มีลักษณะ

                  สมบูรณตลอดจนพื้นที่ปาที่สมควรสงวนไว เพื่อรักษาสภาพแวดลอมและระบบนิเวศ พื้นที่ปาที่มีความ
                  เหมาะสมตอการสงวนไวเพื่อเปนสถานที่ศึกษาวิจัย พื้นที่ปาที่หามมิใหบุคคลเขาไปหรืออยูอาศัยตาม
                  แนวชายแดน พื้นที่ปาที่เปนเอกลักษณเฉพาะของทองถิ่น พื้นที่ปาซึ่งเปนเขตที่ตั้งแหลงธรรมชาติอันควร
                  อนุรักษตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 พื้นที่ปาซึ่ง

                  กำหนดเปนโบราณสถาน โบราณวัตถุตามพระราชบัญญัติสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ
                  สถานแหงชาติ พ.ศ. 2504 เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (Zone C) มีเนื้อที่ 450,446 ไร หรือรอยละ
                  5.39 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ

                              2) เขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ (Zone E) เขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ หมายถึง
                  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่กำหนดไวเพื่อผลิตไม และของปารวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามนัยมติคณะรัฐมนตรี
                  เกี่ยวกับการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำและการจำแนกเขตการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลน
                  พื้นที่เพื่อการพัฒนาการทรัพยากรปาไม และพื้นที่ประสานการใชประโยชนรวมกันระหวางทรัพยากร
                  ปาไมกับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เชน ทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรแร และทรัพยากรพลังงาน

                  เพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ ตลอดทั้งตองไมอยูในหลักเกณฑที่จำแนก
                  ใหเปนเขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ พื้นที่ลักษณะนี้ ไดแก (1) พื้นที่พัฒนาปาธรรมชาติ พื้นที่พัฒนา
                  ปาธรรมชาติ หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่มีสภาพปาไมสมบูรณและมีศักยภาพเหมาะสม

                  ในการจัดการปาไม ตามหลักวิชาการ เพื่อใหราษฎรไดใชประโยชนจากไมและของปารวมกัน





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98