Page 41 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 41

3-7





                  ซึ่งปรากฏอยูในรายงานผลการวิจัย เรื่อง ทะเบียนประวัติ และแผนที่แสดงตำแหนงสถานีอุทกวิทยาและ

                  อุตุนิยมวิทยาในประเทศไทย เปนแนวทางในการดำเนินงาน และไดทำการปรับเพิ่มเติมหลักเกณฑ
                  บางประการใหชัดเจนและสมบูรณขึ้น โดยมีการนำขอมูลจากแหลงตาง ๆ มาพิจารณารวม ไดแก
                  แผนที่การแบงขอบเขตลุมน้ำของหนวยงานตาง ๆ ในระบบ GIS รายงานการศึกษา แผนที่แสดงขอบเขต

                  พื้นที่ชลประทาน แนวคันกั้นน้ำทวม การสำรวจสนามในบางพื้นที่ และแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน
                  1:50,000 ชุดปจจุบัน (L7018) จากกรมแผนที่ทหารมาใชในการกำหนดขอบเขตลุมน้ำใหม ซึ่งแบงพื้นที่
                  ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ ออกเปน 10 ลุมน้ำสาขา (รวมเกาะ) มีลำน้ำสายหลัก ไดแก

                        แมน้ำเพชรบุรี สายหลักเหนือเขื่อนเพชร มีพื้นที่ 3,475.57 ตร.กม. พื้นที่ตอนบนเหนืออางเก็บน้ำ
                  เขื่อนแกงกระจานเปนเขตภูเขาสูง และพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ลาดเทจากทิศตะวันตกมาตะวันออก

                  มีความลาดชันมากกวา 35% ความสูงพื้นที่โดยเฉลี่ย 700 ม.รทก. ไมเหมาะที่จะทำการเกษตรกรรม
                  เพราะเปนเนินเขาสูง โดยทั่วไปเปนพื้นที่ปาสวนใหญเปนเขตวนอุทยานแหงชาติ พื้นที่ลุมน้ำเพชรบุรีตอนลาง
                  ใตเขื่อนแกงกระจานถึงเขื่อนเพชรเปนเขตที่ลาดเชิงเขาที่มีแมน้ำสาขาสายสั้นและลำธารหลายสาย
                  ลำน้ำสายสำคัญ ไดแก หวยสงไสยและหวยผาก ซึ่งหวยผากมีความยาวลำน้ำ 32 กม. ความจุลำน้ำ

                  ประมาณ 120 ลบ.ม./วินาที (ที่สถานี B.8A) และมีความลาดชันเฉลี่ยของลำน้ำ (Average Slope)
                  ประมาณ 1:600 ทั้งนี้ สภาพภูมิประเทศของลุมน้ำสาขาเปนลูกคลื่นลอนลาดและมีที่ราบเชิงเขาสั้น ๆ
                  ตามแนวลำน้ำสายหลัก ความสูงพื้นที่โดยเฉลี่ย 100 ม.รทก. ลักษณะดินเกิดจากตะกอนทับถม
                  มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ จึงเหมาะแกการเกษตร และพื้นที่ดานตะวันออกเปนพื้นที่เขตที่ราบลุม

                  ชายฝงทะเล ความสูงพื้นที่โดยเฉลี่ย 3 ม.รทก. แมน้ำเพชรบุรีตอนลาง หรือพื้นที่ทายเขื่อนเพชร
                  มีพื้นที่ 1,605.07 ตร.กม. เปนเขตที่ราบลุม ความสูงพื้นที่โดยเฉลี่ย 5 ม.รทก. เหมาะแกการเกษตร
                  พื้นที่ปจจุบัน ไดแก พื้นที่เกือบทั้งหมดในเขตชลประทานโครงการสงน้ำและบำรุงรักษาเพชรบุรี
                  โดยพื้นที่บริเวณปากแมน้ำมีน้ำทะเลทวมถึง


                        แมประจันตมีลำน้ำสายหลัก ไดแก แมน้ำหวยแมประจันต ซึ่งมีความยาวลำน้ำ 56 กิโลเมตร.
                  ความจุลำน้ำประมาณ 480 ลบ.ม./วินาที (ที่สถานี B.6) และมีความลาดชันเฉลี่ยของลำน้ำ (Average
                  Slope) ประมาณ 1 : 700 ทั้งนี้ สภาพภูมิประเทศของลุมน้ำสาขาโดยทั่วไปเปนพื้นที่ลาดเชิงเขามีที่ราบ
                  ริมแมน้ำเล็กนอย ตอนบนเปนเขตพื้นที่เขาคอนขางสูงชัน ตอนลางเปนที่ราบลาดเชิงเขา
                  มีความเหมาะสมตอการเกษตรไมมากนัก


                        แมน้ำปราณบุรี ซึ่งไหลผานพื้นที่ตอนเหนือสุดของลุมน้ำ ติดกับเขตลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี
                  ไหลจากทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตและตะวันออก ตนน้ำมาจาก
                  เทือกเขาตะนาวศรีทางทิศตะวันตก ซึ่งเปนเทือกเขาสูงและเปนพรมแดนไทย-พมา และเทือกเขาทาง
                  ตะวันตกเฉียงเหนือบริเวณเขตอุทยานแหงชาติแกงกระจานเขตติดตอลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี ไหลลงสู
                  อาวไทยทางทิศตะวันออกที่ปากน้ำปราณบุรี อำเภอปราณบุรี ความยาวของลำน้ำ ประมาณ 189

                  กิโลเมตร ลำน้ำมีความลาดชันมากในตอนบนและคอนขางราบในตอนลาง ความลาดชันเฉลี่ยของลำน้ำ
                  (Average Slope) ประมาณ 1 : 590  คลองเขาแดง ประกอบดวย ลุมน้ำยอยคลองเขาแดง-ทุงสามรอยยอด
                  ตนน้ำมาจากเทือกเขาตะนาวศรี ไหลจากทิศตะวันตกและทิศเหนือมาทางทิศตะวันออก เปนลำน้ำสายสั้น ๆ

                  ความยาวของลำน้ำคลองเขาแดงประมาณ 16 กิโลเมตร และมีความลาดชันเฉลี่ยของลำน้ำประมาณ 1 : 160





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46