Page 40 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 40

3-6





                  3.3 ระบบกายภาพลุมน้ำ

                        ลักษณะทางกายภาพของลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ มีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมมีคา
                  สัมประสิทธิ์ความหนาแนน Compactness coefficient (Kc) เทากับ 2.5 และมีคา Form Factor (FF)

                  เทากับ 0.15 ดังแสดงในตารางที่ 3 - 2 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูบริเวณชายแดนไทย-พมา เขางะยัน
                  นิกยวกตอง ตำบลหวยแมเพรียง อำเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี มีความสูง 1,518 เมตร
                  จากระดับน้ำทะเลปานกลาง จุดต่ำสุดของพื้นที่ลุมน้ำบริเวณ อาวบางตะบูน บานปากอาว ตำบลบางตะบูนออก
                  อำเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีความสูง 0.43 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยทั่วไปของลุมน้ำ

                  เปนพื้นที่ดอนรูปแบบของลำน้ำเปนแบบ Dendritic pattern มีลักษณะเปนลำธารแตกกิ่งกานสาขา
                  คลายเสนใบของใบไมมีทิศทางไมแนนอน

                  ตารางที่ 3-2 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ


                                             ความ    ความ                             Drainage  ความ
                    ความยาวเสน                               Form       Compact
                                              ยาว
                   ลอมรอบลุมน้ำ  พื้นที่ลุมน้ำ   เฉลี่ย  กวาง  Factor   nesscoefficient   density   ลาดชัน
                                       2
                                                                                       กม./ตร.
                                                                                                  ของ
                                   (km )
                                                     เฉลี่ย
                       (km)                                   (FF)         (Kc)
                                             (km)    (km)                                กม.     พื้นที่
                       1,038      13,370.96   300   109.91    14.81         0.3         0.259     0.43
                        การแบงลุมน้ำสาขาในลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ ไดกำหนดตามประกาศเมื่อวันที่
                  11 กุมภาพันธ 2564 พระราชกฤษฎีกากำหนดลุมน้ำ พ.ศ. 2564 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                  แบงพื้นที่ลุมน้ำของประเทศไทยใหม ใหมีความเหมาะสมกับการบริการจัดการน้ำและวิถีชีวิตของประชาชน

                  กำหนดใหประเทศไทยมี 22 ลุมน้ำหลัก 353 ลุมน้ำสาขา และมีหมูเกาะตาง ๆ ของแตละลุมน้ำหลักอีก
                  จำนวน 6 หมูเกาะ การแบงกลุมพื้นที่ “ลุมน้ำ” (river basins)  ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561
                  บัญญัติใหกำหนดลุมน้ำเพื่อประโยชนในการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติ (สทนช.)

                  จึงรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรศึกษาทบทวนการแบงพื้นที่ลุมน้ำใหม ผลการศึกษาสรุปใหปรับปรุง
                  25 ลุมน้ำเดิมเหลือ 22 ลุมน้ำ ประกอบดวย ลุมน้ำสาละวิน ลุมน้ำโขงเหนือ ลุมน้ำโขง
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ลุมน้ำชี ลุมน้ำมูล ลุมน้ำปง ลุมน้ำวัง ลุมน้ำยม ลุมน้ำนาน ลุมน้ำเจาพระยา
                  ลุมน้ำสะแกกรัง ลุมน้ำปาสัก ลุมน้ำทาจีน ลุมน้ำแมกลอง ลุมน้ำบางปะกง ลุมน้ำโตนเลสาบ
                  ลุมน้ำชายฝงทะเลตะวันออก ลุมน้ำชายฝงอาวไทยตะวันตก ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนบน

                  ลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ลุมน้ำภาคใตตะวันออกตอนลาง และลุมน้ำภาคใตฝงตะวันตก จาก 25
                  ลุมน้ำหลักเดิม เหลือ 22 ลุมน้ำหลักใหม ซึ่งหายไปไหน 3 ลุมน้ำ (สำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติ,
                  2564) ปรับปรุงขอบเขตการปกครองตามกรมสงเสริมการปกครอง (2564) ประกอบกับผลการศึกษา

                  ของโครงการศึกษาสำรวจออกแบบสถานีอุทกวิทยา 25 ลุมน้ำหลักของประเทศไทย ของกรมทรัพยากรน้ำ
                  (2550) โดยพิจารณาหลักเกณฑการแบงขอบเขตลุมน้ำสาขา การเรียกชื่อลุมน้ำ ลำน้ำ และการกำหนด
                  รหัสลุมน้ำ โดยยึดถือ “มาตรฐานลุมน้ำและลุมน้ำสาขา” ของคณะอนุกรรมการศูนยขอมูลสารสนเทศ
                  อุทกวิทยา (น้ำผิวดิน) ภายใตคณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ (ปจจุบันไดรวมอยูในกรมทรัพยากรน้ำ)







                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45