Page 202 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 202

5-29






                  5.3  ขอเสนอแนะเพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา

                        จากการวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ ทำใหสามารถนำมาสรางเปนกลยุทธเพื่อเปนแนวทาง
                  ในการกำหนดแผนพัฒนาตอไป กลยุทธที่สรางขึ้นจากการวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่เปนตัวอยางไดพอสังเขป

                  ในการบริหารจัดการพื้นที่ตามสภาพการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงพื้นที่ปาไม พื้นที่เกษตร พื้นที่แหลงน้ำ
                  พื้นที่เมือง พื้นที่อุตสาหกรรม เพื่อใหเกิดดูแลสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ รวมทั้งความหลากหลาย
                  ทางชีวภาพ อยางเหมาะสมและเกิดดุลยภาพ ดังนี้
                        5.3.1 พื้นที่ปาไม และสิ่งแวดลอม

                            การอนุรักษปาไมและสิ่งแวดลอมการอนุรักษสิ่งแวดลอมในปจจุบันมีวัตถุประสงคหลักอยู 4
                  ประการ คือ 1) เพื่อธำรงไวซึ่งปจจัยสำคัญของระบบสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอมนุษยและสัตว
                  และระบบสนับสนุนการดำรงชีวิต เปนการปรับปรุงปองกันพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก
                  การหมุนเวียนแรธาตุอาหารพืช ตลอดจนการทำน้ำใหสะอาด 2) เพื่อสงวนรักษาการกระจายของชาติพันธุ

                  ซึ่งขึ้นกับโครงการขยายพันธุตาง ๆ ที่จำเปนตอการปรับปรุงการปองกันธัญญพืช สัตวเลี้ยง
                  และจุลินทรียตาง ๆ รวมทั้งสิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีตลอดจนการคุมครองอุตสาหกรรม
                  นานาชาติที่ใชทรัพยากรที่มีชีวิตเปนวัตถุดิบ 3) เพื่อเปนหลักประกันในการใชพันธุพืชสัตวและระบบนิเวศ
                  เพื่อประโยชนในการยังชีพตามความเหมาะสม 4) เพื่อสงวนรักษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ

                  ศิลปกรรม ซึ่งเปนมรดกล้ำคาไวไปยังอนุชนรุนหลังรวมทั้งระบบสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น
                            1) การอนุรักษปาไม มีความสำคัญอยู 4 ประการตอระบบนิเวศนสิ่งแวดลอม
                  ความหลากหลายทางชีวภาพ และลดสภาวะโลกรอน คือ (ก) เพื่อธำรงไวซึ่งปจจัยสำคัญของ

                  ระบบสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอมนุษยและสัตว และระบบสนับสนุนการดำรงชีวิต เปนการปรับปรุง
                  ปองกันพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การหมุนเวียนแรธาตุอาหารพืช ตลอดจนการทำน้ำใหสะอาด
                  (ข) เพื่อสงวนรักษาการกระจายของชาติพันธุ ซึ่งขึ้นกับโครงการขยายพันธุตาง ๆ ที่จำเปนตอการ
                  ปรับปรุงการปองกันธัญญาพืช สัตวเลี้ยง และจุลินทรียตาง ๆ รวมทั้งสิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร
                  เทคโนโลยีตลอดจนการคุมครองอุตสาหกรรม นานาชาติที่ใชทรัพยากรที่มีชีวิตเปนวัตถุดิบ

                  (ค) เพื่อเปนหลักประกันในการใชพันธุพืชสัตวและระบบนิเวศเพื่อประโยชนในการยังชีพตาม
                  ความเหมาะสม และ (ง) เพื่อสงวนรักษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปกรรม ซึ่งเปนมรดกล้ำคา
                  ไวไปยังอนุชนรุนหลังรวมทั้งระบบสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น การบำรุงรักษาปา ควรปฏิบัติ

                  ดังนี้ (กรมปาไม, 2560)
                              (1) ปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปา
                              (2) หาแหลงทำมาหากินใหชาวเขาอยูเปนหลักแหลง เพื่อเปนการปองกันการทำ
                  ไรเลื่อนลอย

                              (3) สงเสริมการปลูกปาทดแทน
                              (4) ปดปาไมอนุญาตใหมีการทำไม
                              (5) ใชวัตถุอื่นทดแทนผลิตภัณฑที่ทำจากไม
                              (6) ตั้งหนวยปองกันไฟปา

                              (7) สงเสริมใหมีการเผยแพรความรูและความเขาใจแกประชาชน เพื่อใหเห็น
                  ความสำคัญของปาไม





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207