Page 69 - Mae Klong Basin
P. 69

3-35





                  กลุมประชากร โดยคำนวณจากอัตราการใชน้ำเฉลี่ยของประชากรในเขตบริการของการประปาสวนภูมิภาค

                  โดยใชสถิติยอนหลัง 10 ป
                            3) ความตองการน้ำเพื่อการอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว คือ (1) ความตองการน้ำเพื่อ
                  การอุตสาหกรรม การประเมินความตองการน้ำเพื่อการอุตสาหกรรมแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

                  อุตสาหกรรมทั่วไปและนิคมอุตสาหกรรม โดยความตองการน้ำของโรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งใน
                  นิคมอุตสาหกรรมจะใชอัตราการใชนำตามมาตรฐานของการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย คือ
                  7 ลูกบาศกเมตรตอไรตอวัน โดยคิดวันทำงาน 300 วันตอป สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม การประเมิน
                  ความตองการน้ำโดยไดรวบรวมขอมูลจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมแตละประเภทจากรายงานทำเนียบ
                  โรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดตางๆ จากนั้นนำมาคูณกับอัตราการใชน้ำตอผลผลิตของอุตสาหกรรม
                  แตละประเภท (2) ความตองการน้ำเพื่อการทองเที่ยว การประเมินความตองการน้ำเพื่อการทองเที่ยว

                  ในปจจุบันคำนวณไดโดยนำจำนวนนักทองเที่ยวในปจจุบัน ที่ไดจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย
                  คูณกับอัตราการใชน้ำของนักทองเที่ยวคูณกับจำนวนวันพักแรม ในการคำนวณความตองการใชน้ำเพื่อ
                  การทองเที่ยวถือวานักทองเที่ยวเทานั้นที่มีความตองการใชน้ำ สวนนักทัศนาจรถือวามีความตองการ
                  ใชน้ำปริมาณนอยมากจนจัดวาไมมีนัยสำคัญตอการคาดประมาณความตองการใชน้ำ โดยทำการแยก
                  นักทองเที่ยวออกเปน 2 ประเภทคือ (1)นักทองเที่ยว คือ ผูมาทองเที่ยวแบบคางคืน และ

                  (2) นักทัศนาจร คือ ผูมาทองเที่ยวแบบไมคางคืน
                            4) ความตองการน้ำเพื่อรักษาสมดุลนิเวศวิทยาทายน้ำ คือ ปริมาณน้ำต่ำสุดที่ไหลในฤดูแลง
                  ของลำน้ำนั้น ๆ ในอดีต ซึ่งประเมินจากอัตราการไหลรายวัน ในชวงระยะเวลาระหวางเดือนมกราคม
                  ถึงเมษายน เนื่องจากเปนชวงที่อัตราการไหลมีคาต่ำ และทำการวิเคราะหจากสถิติขอมูลน้ำทาที่สถานีวัดน้ำ

                  ในลุมน้ำ ซึ่งคาอัตราการไหลต่ำสุดที่ไดเปนคาที่ความมั่นคงไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลา ณ สถานีที่
                  นำมาวิเคราะห ผลที่ไดจะนำมากำหนดอัตราการไหลขั้นต่ำ (Minimum Flow) ในทุกลำน้ำของลุมน้ำสาขา
                  ตอพื้นที่รับน้ำ 1 ตารางกิโลเมตร ความตองการปริมาณน้ำต่ำสุดดานทายน้ำ โดยปกติจะกำหนดจากผล
                  การวิเคราะหระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมเพื่อรักษาสมดุลของระบบ และในบางครั้งก็จะกำหนดตาม
                  ปริมาณความตองการน้ำดานทายน้ำ เชน การขับไลน้ำเค็ม-น้ำเสีย การรักษาระดับน้ำเพื่อการเดินเรือ

                  ความตองการดานอุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรมเปนตน ดังนั้น ปริมาณน้ำต่ำสุดดานทายน้ำที่จำเปนตอง
                  รักษาไวในแตละลุมน้ำสาขาจึงมีความแตกตางกัน
                        3.6.1 โครงการพัฒนาแหลงน้ำผิวดิน
                            โครงการชลประทานแมกลองใหญ

                  โครงการพัฒนาแหลงน้ำผิวดิน มีโครงการชลประทานแมกลองใหญ เปนหนึ่งในแผนพัฒนาลุมน้ำแมกลอง
                  เพื่อพัฒนาการเกษตรชลประทาน มีพื้นที่โครงการประมาณ 3.2 ลานไร โครงการนี้นอกจากจะอำนวย
                  ประโยชนในดานการชลประทาน การจัดหาน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค การบรรเทาอุทกภัย
                  การประมง และคมนาคมแลว ยังครอบคุมถึงการระบายน้ำและการปองกันน้ำเค็มอีกดวย อยางไรก็ตาม
                  วัตถุประสงคหลักของโครงการก็คือ การทดน้ำไปชวยการเพาะปลูกในบริเวณที่ราบสองฝงของแมน้ำแมกลอง

                  ในป พ.ศ. 2507 กรมชลประทานไดดำเนินการสรางเขื่อนวชิราลงกรณขึ้นที่ตำบลมวงชุม อำเภอทามวง
                  จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อทำหนาที่ทดน้ำในแมน้ำแมกลองเขาสูระบบคลองสงน้ำ ไปยังพื้นที่เพาะปลูก
                  โครงการมีพื้นที่คลอบคลุมถึง 7 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม เพชรบุรี
                  สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74