Page 72 - Mae Klong Basin
P. 72

3-38





                        พื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง มีโครงการพัฒนาแหลงน้ำผิวดิน  ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ

                  ไทย (2565) ในปจจุบันการพัฒนาระบบชลประทาน ในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง มีเขื่อนอเนกประสงค
                  ประเภทเขื่อนกักเก็บน้ำ (Reservoir Dam) 3 แหงคือ (1) เขื่อนศรีนครินทร พื้นที่อางเก็บน้ำ 419
                  ตารางกิโลเมตร ความจุ 17,745 ลานลูกบาศกเมตร ระดับเก็บกักสูงสุดปรกติ 180 เมตร ปริมาณน้ำใชงาน

                  7,470 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณน้ำไหลเขาอางเฉลี่ยปละ 4,457 ลานลูกบาศกเมตร สามารถผลิต
                  พลังงานไฟฟาไดเฉลี่ยปละประมาณ 1,250 ลานกิโลวัตตชั่วโมง (2) เขื่อนวชิราลงกรณ มีพื้นที่รับน้ำฝน
                  3.720 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำไหลเขาอางเฉลี่ยประมาณปละ 5,500 ลานลูกบาศกเมตร และมีปริมาตรเก็บกัก
                  สูงสุดปกติ 8,860 ลานลูกบาศกเมตร ที่ระดับ 155.0 เมตร (รทก.) สามารถผลิตพลังงานไฟฟาไดเฉลี่ยปละ

                  ประมาณ 777 ลานกิโลวัตตชั่วโมง  และเขื่อนทาทุงนามีระดับกักเก็บน้ำสูงสุด 59.7 เมตร รทก. ระดับกักน้ำ
                  ต่ำสุด 55.5 เมตร รทก. ความจุของอางเก็บน้ำ 54.8 ลานลูกบาศกเมตร ที่ระดับ 59.7 เมตร รทก.
                  และปริมาณน้ำที่ใชงานทั้งสิ้น 28.8 ลานลูกบาศกเมตร ความยาวอางเก็บน้ำ 25 กิโลเมตร ใหพลังงานไฟฟา
                  เฉลี่ยปละประมาณ 170 ลานกิโลวัตตชั่วโมง และเขื่อนการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (2565)

                  ในลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง ยังสามารถเปนอางเก็บน้ำเพื่อยับยั้งน้ำทวม (Flood Detention Reservoirs)
                  ชวยตานน้ำเค็มและน้ำเสียในฤดูแลงรวมทั้งยังมีน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมของสองฝงแมกลองอีกสวนหนึ่ง
                  และจากการปลอยน้ำจากเขื่อนเพิ่มขึ้น ในฤดูแลงจะชวยขับไลน้ำเสียและผลักดันน้ำเค็มทำใหสภาพน้ำใน
                  แมน้ำแมกลองมีคุณภาพดีขึ้น และสนับสนุนระบบชลประทานในลุมน้ำเจาพระยาดวย มีเขื่อนอเนกประสงค

                  ประเภทเขื่อนกักเก็บน้ำ
                        โครงการพัฒนาแหลงน้ำผิวดิน ที่ดำเนินการโดย กรมชลประทาน 2556 มีวัตถุประสงคเพื่อใหน้ำ
                  เพียงพอกับความตองการ เพื่อสงตอไปยังพื้นที่เพาะปลูก ประกอบไปดวย โครงการชลประทานขนาดใหญ
                  จำนวน 12 โครงการ (ไมรวม กฟผ. 3 แหง) โครงการชลประทานขนาดกลาง จำนวน 11 โครงการ

                  ซึ่งจากการวิเคราะหจากขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร พบวาโครงการชลประทานขนาดกลางมีพื้นที่
                  รับประโยชนรวม 5,411,700 ไร คิดเปนรอยละ 28.64 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง เชน เขื่อนแมกลอง
                  รับน้ำจากเขื่อนศรีนครินทร และเขื่อนวชิราลงกรณ จากการระบายน้ำจากเขื่อนทั้ง 2 เปนไปตามขอตกลง
                  ระหวางกรมชลประทานและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย มีพื้นที่รับน้ำฝนเหนือที่ตั้งเขื่อน

                  25,590 ตร.กม. ปริมาณน้ำทาเฉลี่ย 9,710 ลาน ลบ.ม./ป ที่ควบคุมการไหลของแมน้ำ สวนเครือขาย
                  คลองชลประทานจัดหาน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ 2,700,000 ไร และ สามารถผลิตไฟฟาไดถึง
                  124.39 กิกะวัตตตอชั่วโมง อางเก็บน้ำหวยสำนักไมเต็ง มีพื้นที่ชลประทาน 29,000 ไร โครงการสงน้ำ

                  และบำรุง รักษานครชุม มีพื้นที่ชลประทาน 295,420 ไร โครงการสงน้ำและบำรุงรักษานครปฐม มีพื้นที่
                  ชลประทาน 429,500 ไร และโครงการสงน้ำและบำรุงรักษาบางเลน มีพื้นที่ชลประทาน 369,000 ไร เปนตน
                  นอกจากนี้ยังมีโครงการชลประทานขนาดเล็ก จำนวน 145 โครงการ และโครงการสูบน้ำดวยไฟฟา
                  จำนวน 47 โครงการ มีพื้นที่รับประโยชน 63,270 ไร (ตารางที่ 3-14)

















                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77