Page 26 - Mae Klong Basin
P. 26

2-12





                            (5) วิธีการหรือขั้นตอนการทำงาน คือวิธีการที่องคกรนั้น ๆ นำเอาระบบ GIS ไปใชงานโดยแตละ

                  ระบบแตละองคกรยอมีความแตกตางกันออกไป ฉะนั้นผูปฏิบัติงานตองเลือกวิธีการในการจัดการกับ
                  ปญหาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับของหนวยงานนั้น ๆ เอง
                        2.2.2 หนาที่ของ GIS (How GIS Works) ภาระหนาที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                  ควรจะมีอยูดวยกัน 5 อยางดังนี้
                            (1) การนำเขาขอมูล (Input) กอนที่ขอมูลทางภูมิศาสตรจะถูกใชงานไดในระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร ขอมูลจะตองไดรับการแปลง ใหมาอยูในรูปแบบของขอมูลเชิงตัวเลข
                  (digital format) เสียกอน เชน จากแผนที่กระดาษไปสูขอมูลใน รูปแบบดิจิตอลหรือแฟมขอมูลบน

                  เครื่องคอมพิวเตอรอุปกรณที่ใชในการนำเขาเชน Digitizer Scanner หรือ Keyboard เปนตน
                            (2) การปรับแตงขอมูล (Manipulation) ขอมูลที่ไดรับเขาสูระบบบางอยางจำเปนตอง
                  ไดรับการปรับแตงใหเหมาะสมกับงาน เชน ขอมูลบางอยางมีขนาด หรือสเกล (scale) ที่แตกตางกัน
                  หรือใชระบบพิกัดแผนที่ที่แตกตางกัน ขอมูลเหลานี้จะตองไดรับการปรับใหอยูใน ระดับเดียวกันเสียกอน

                            (3) การบริหารขอมูล (Management) ระบบจัดการฐานขอมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช
                  ในการบริหารขอมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ไดรับการเชื่อถือและนิยมใช
                  กันอยางกวางขวางที่สุด คือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานขอมูลแบบสัมพัทธ (DBMS)
                  ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐานดังนี้คือ ขอมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง

                            (4) การเรียกคนและวิเคราะหขอมูล (Query and Analysis) เมื่อระบบ GIS มีความพรอม
                  ในเรื่องของขอมูลแลว ขั้นตอนตอไป คือ การนำขอมูลเหลานี่มาใชใหเกิด ประโยชน เชน ใครคือเจาของ
                  กรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนที่ติดกับโรงเรียน เมืองสองเมืองนี้มีระยะหางกันกี่กิโลเมตร ดินชนิดใดบางที่เหมาะ
                  สำหรับปลูกออย หรือ ตองมีการสอบถามอยางงายๆ เชน ชี้เมาสไปในบริเวณที่ตองการแลวเลือก

                  (point and click) เพื่อสอบถามหรือเรียกคนขอมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห
                  เชน การวิเคราะหเชิงประมาณคา (Proximity หรือ Buffer) การวิเคราะหเชิงซอน (Overlay Analysis)
                  เปนตน หรือตองมีการสอบถามอยางงาย ๆ เชน ชี้เมาสไปในบริเวณที่ตองการแลวเลือก (point and click)
                  เพื่อสอบถามหรือเรียกคนขอมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห เชน การวิเคราะห

                  เชิงประมาณคา (Proximityหรือ Buffer) การวิเคราะหเชิงซอน (Overlay Analysis) เปนตน
                            (5) การนำเสนอขอมูล (Visualization) จากการดำเนินการเรียกคนและวิเคราะหขอมูล
                  ผลลัพธที่ไดจะอยูในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากตอการตีความหมายหรือทำความเขาใจ

                  การนำเสนอขอมูลที่ดี เชน การแสดงชารต (chart) แบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง
                  ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ หรือแมกระทั้งระบบมัลติมีเดียสื่อตาง ๆ เหลานี้จะทำใหผูใชเขาใจความหมาย
                  และมองภาพของผลลัพธที่กำลังนำเสนอไดดียิ่งขึ้น อีกทั้งเปนการดึงดูดความสนใจของผูฟงอีกดวย



















                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31