Page 62 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 62

3-6





                  5.5 -  6.5 การหยั่งลึกของรากในดินบนอยู่ในระดับปานกลาง และดินล่างอยู่ในระดับยาก ความยากง่ายใน

                  การเขตกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 31B และ 31BM3

                                (2.2) หน่วยที่ดินริมแม่น ้าหรือตะกอนน ้ารูปพัด

                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินทรายแป้ง เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนน ้าพา
                  หรือตะกอนน ้ารูปพัด เป็นดินลึกมาก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กน้อย ความลาดชัน 0 - 5 เปอร์เซ็นต์ การระบายน ้าดี และดีปานกลางในหน่วยที่ดินที่มีการท าคันนาเพื่อ

                  ท านา ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกน้อยกว่า 10 เซนติโมล
                  ต่อกิโลกรัม ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง 35 - 75 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                  5.5 - 6.5 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0 – 8.0 การหยั่งลึกของรากในดินบนอยู่ในระดับง่าย

                  และดินล่างอยู่ในระดับปานกลาง ความยากง่ายในการเขตกรรมอยู่ในระดับง่ายได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 33

                  33I  33B  33BI  33BIM3 และ 33BM3
                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วน เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนล าน ้า

                  ที่มีลักษณะการทับถมเป็นชั้นๆ ของตะกอนล าน ้าในแต่ละช่วงเวลา พบบนสันดินริมน ้า เป็นดิน

                  ลึกมาก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 0 - 5
                  เปอร์เซ็นต์การระบายน ้าดี และดีปานกลางในหน่วยที่ดินที่มีการท าคันนาเพื่อท านา ความอุดมสมบูรณ์

                  ของดินปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก 10 - 20 เซนติโมลต่อกิโลกรัม ความอิ่มตัวด้วย

                  ประจุบวกที่เป็นด่าง 35 - 75 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0 - 6.5 และดินล่างมีค่า
                  ความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0 – 7.0 การหยั่งลึกของรากในดินบน ดินล่าง และความยากง่ายในการเขตกรรม

                  อยู่ในระดับง่ายได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 38  38I  38B  38BI และ 38BM3

                                (2.3) หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด

                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วนละเอียด เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนล าน ้า
                  หรือการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ

                  ที่ส่วนใหญ่มาจากหินตะกอน เป็นดินลึกมาก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา

                  ความลาดชัน 0 - 35 เปอร์เซ็นต์ การระบายน ้าดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า ความจุใน
                  การแลกเปลี่ยนประจุบวกน้อยกว่า 10 เซนติโมลต่อกิโลกรัม ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างน้อยกว่า

                  35 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0 - 6.0 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5 - 5.5

                  การหยั่งลึกของรากในดินบนอยู่ในระดับง่าย และดินล่างอยู่ในระดับปานกลาง ความยากง่ายใน

                  การเขตกรรมอยู่ในระดับง่าย ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 35  35B  35BI  35C  35D และ 35E
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67