Page 58 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 58

3-2





                  ความลึกของดิน เนื้อดิน การระบายน ้า ปฏิกิริยาดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ เป็นต้น

                  ร่วมกับสภาพพื้นที่ และลักษณะการจัดการพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่ดิน ได้แก่

                              การจัดการพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่ดิน                  สัญลักษณ์

                                พื้นที่ที่มีศักยภาพในการจัดการน ้าเพื่อใช้ในการเกษตร        I
                                พื้นที่จัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม                         M1

                                การจัดการพื้นที่เพื่อปลูกไม้ยืนต้นหรือไม้ผล               M2

                                การท าคันนาในพื้นที่ดอนเพื่อท านา                         M3
                              จากการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆที่ส าคัญดังกล่าว สามารถจ าแนกหน่วยที่ดินของลุ่มน ้าสาขา

                  น ้าแม่ลาว (0303) ได้ 81 หน่วยที่ดิน และพื้นที่อื่นๆ 4 หน่วย ซึ่งมีลักษณะและคุณภาพที่ดินของหน่วย

                  ที่ดิน (ตารางที่ 3-1) โดยแบ่งหน่วยที่ดินตามสภาพพื้นที่ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ดังนี้

                              (1) หน่วยที่ดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น ้าขัง มี 4 กลุ่ม ได้แก่
                                (1.1) หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว

                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนล าน ้า

                  ที่มีอายุน้อย เป็นดินลึกมาก พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต ่าตะกอนน ้าพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
                  ราบเรียบ ความลาดชัน 0 - 2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน ้าเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง ความจุ

                  ในการแลกเปลี่ยนประจุบวกมากกว่า 20 เซนติโมลต่อกิโลกรัม ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง

                  35 - 75 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0 - 6.5 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                  6.5 - 8.0 การหยั่งลึกของรากในดินบน ดินล่างและความยากง่ายในการเขตกรรมอยู่ในระดับยาก ได้แก่
                  หน่วยที่ดินที่ 4 และ 4I

                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนล าน ้า

                  เป็นดินลึกมาก พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต ่าตะกอนน ้าพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน
                  0 - 2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน ้าเลว และค่อนข้างเลวในหน่วยที่ดินที่มีการจัดการพื้นที่เพื่อปลูกไม้ยืน

                  ต้นหรือไม้ผล ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก 10 - 20 เซนติโมล

                  ต่อกิโลกรัม ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง 35 - 75 เปอร์เซ็นต์ ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                  5.5 - 6.5 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0 - 8.0 การหยั่งลึกของรากในดินบนอยู่ในระดับปานกลาง
                  และดินล่างอยู่ในระดับยาก ความยากง่ายในการเขตกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 5

                  5I และ 5M2

                                  - หน่วยที่ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนล าน ้า
                  เป็นดินลึกมาก พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต ่าตะกอนน ้าพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน

                  0 - 2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน ้าเลวหรือค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63