Page 118 - Phetchaburi
P. 118

3-42




                                  -  เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก

                  หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ำใหแกดินและ
                  ใชปุยเคมีรวมดวยตามความเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก
                                  -  การจัดการน้ำที่เหมาะสมจัดหาแหลงน้ำใหพอเพียงกับการเพาะปลูก

                  และมีการใหน้ำอยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ำแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ำ
                  และเก็บรักษาความชื้นในดิน
                                  -  พื้นที่ที่มีความลาดชันควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ ไถพรวน
                  และปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ปลูกพืชคลุม โดยปลูกสลับกับแถวพืชหลักที่ปลูกไว

                  เพื่อลดการชะลางพังทลายของดินหรือปลูกหญาแฝก เปนตน
                                  -  ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง การปลูกพืชในดินประเภทนี้ อาจมีปญหา
                  การขาดธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก และแมงกานีส ดังนั้น การปลูกพืชในดินดังกลาว
                  จึงควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมพืชที่ชอบสภาพดินกรด เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ไมผลบางชนิด เชน ขนุน

                  นอยหนา และมะพราว
                                1.6  พื้นที่ลาดชันเชิงซอน มีเนื้อที่ 2,062,614 ไร หรือรอยละ 53.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้ไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม เนื่องจากยากตอการจัดการและเกิดการชะลาง
                  พังทลายของหนาดินไดงาย ถาใชมาตรการพิเศษในการอนุรักษดินและน้ำ จะตองใชคาใชจายสูง

                  และยังเปนการทำลายระบบนิเวศของปาอีกดวย ดังนั้น ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติ
                  เพื่อเปนที่อยูอาศัยและเปนแหลงเพาะพันธุของสัตวปา รวมถึงเปนแหลงตนน้ำลำธาร
                  ถามีความจำเปนตองนำมาใชประโยชนทางการเกษตรควรมีการเลือกใชพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกษตร
                  ตองเปนดินลึก และมีความลาดชันไมสูงมากนัก โดยตองทำการเกษตรแบบวนเกษตรและมีระบบอนุรักษ

                  ดินและน้ำ ที่ถูกตองตามหลักวิชาการ ขอเสนอแนะการใชพื้นที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต
                                แนวทางในการจัดการ
                                  -  ในกรณีที่เปนดินลึก ควรทำเปนคันดินแบบขั้นบันไดตอเนื่องสำหรับปลูกพืช
                  ลมลุกที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจสูง หรือถามีการปลูกไมยืนตน ควรปลูกพืชคลุมดินรวมดวย

                                  -  ในกรณีที่เปนดินลึกหรือลึกปานกลาง ควรปลูกไมยืนตนขวางความลาดเท
                  รวมกับหญาแฝกและปลูกพืชคลุมดินระหวางตนพืชควรทำคันคูรอบเขาและคูเบนน้ำเพื่อระบายน้ำ
                  ในกรณีที่ปลูกไมยืนตนและตองการปลูกพืชแซมระหวางแถวกอนไมยืนตน สามารถปลูกพืชไรระหวาง

                  แถวไมยืนตน ไดในระยะแรก เชน ถั่วเหลืองถั่วเขียว เพื่อปรับปรุงบำรุงดินและชวยคลุมดิน เนื่องจาก
                  พื้นที่มีความลาดชันสูงทำใหเกิดการสูญเสียหนาดินไดงาย
                                  -  ในกรณีที่เปนดินตื้นไมควรปลูกพืชไรหรือพืชลมลุก ควรปลูกไมยืนตนขวาง
                  ความลาดเทของพื้นที่และปลูกพืชคลุมดินระหวางตนพืช และควรทำคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้ำ
                  ในกรณีที่ปลูกไมยืนตนและตองการปลูกพืชแซมระหวางแถวกอนไมยืนตนโตนั้นไมควรมีการไถพรวน

                  เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันสูงทำใหเกิดการสูญเสียหนาดินไดงาย
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123