Page 174 - Chumphon
P. 174

4-24





                  ตารางที่ 4-2   (ตอ)


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    17    ปญหาพายุ                 สภาพภูมิประเทศมีลักษณะแคบและยาวตามแนวเหนือ-ใตประกอบกับทางทิศ
                          หมุนเขตรอน (ภัยธรรมชาติ)   ตะวันตกเปนพื้นที่สูงมีภูเขาสลับซับซอนเปนแหลงตนกําเนิดของแมน้ำหลาย
                                                    สาย และทางทิศตะวันออกเปนที่ราบลุมชายฝงทะเล จะไดรับอิทธิพลจากมรสุม
                                                    ทั้งสองดาน คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต (ระหวางเดือนมิถุนายน- กันยายน) และ
                                                    มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ระหวางเดือนตุลาคม - ธันวาคม) ทุกปจะมีวาตภัย
                                                    เขามาทำลายสวนผลไม
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูก หรือเปลี่ยนพืช
                                                       -เกษตรกรควรปลูกพืชกันลม เชน ไผ เปนตน

                  4.3  การวิเคราะหพื้นที่โดยใช DPSIR

                        สิ่งแวดลอมจะถูกนำมาประกอบการตัดสินใจในการกำหนดมาตรการหรือนโยบายตาง ๆ
                  เพื่อตองการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติมาตรการหรือนโยบายตางๆ เหลานี้
                  เปนการตอบสนองของสังคม ซึ่งจะมีผลทำใหพฤติกรรมของมนุษยเปลี่ยนแปลงไป และในทายที่สุดจะทำให

                  สถานะของสิ่งแวดลอมดีขึ้น การประเมินสมรรถนะสภาพแวดลอม หรือ EPA ซึ่งยอมาจากคำวา
                  Environmental Performance Assessment เปนเครื่องมือที่ทำใหรัฐบาลสามารถกำหนดนโยบายและ
                  จัดการเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของประเทศ ได EPA จะทำใหเราสามารถประเมินผลไดวาประเทศของเราไดมี
                  การจัดการทางดานสิ่งแวดลอมไดดีเพียงใด การประเมินสมรรถนะสภาพแวดลอมจะใช Pressure-State-

                  Response (PSR) เปนกรอบการทำงานหรือแนวทางที่ใชในการวางแผนพัฒนาสภาพแวดลอม โดยจะมีการ
                  กำหนดตัวชี้วัดขึ้นมา 3 ประเภท คือ
                          แรงกดดัน (Pressure) ใชอธิบายกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษยที่จะมีผลกระทบตอ
                  สภาพแวดลอม ที่เปนสาเหตุทำใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสภาพเปลี่ยนแปลงไป ตัวอยางเชน

                  การคมนาคมขนสง การอุตสาหกรรม/เกษตรกรรม แบบแผนของการใชพลังงานอัตราการขยายตัวของรายได
                  ความหนาแนนของประชากร ตัวแปรตางๆ เหลานี้จะเปนภาวะกดดันที่ทำใหทรัพยากรธรรมชาติตองรอย
                  หรอและสิ่งแวดลอมตองเสื่อมโทรมลง ตัวอยางเชน การปลอยกาซเรือนกระจกของมนุษยซึ่งมีผลกระทบตอ
                  สภาพแวดลอม

                          สถานะภาพ (State) ใชอธิบายสภาพหรือสถานะของสภาพแวดลอมที่ตองการการแกไขหรือ
                  ปรับปรุงใหดีขึ้น หรือ ลักษณะทางกายภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปอัน
                  เนื่องมาจากปจจัยตางๆ ทั้งจากภาวะกดดัน และการตอบสนอง เชนคุณภาพน้ำ/อากาศ พื้นที่ปา

                  การพังทลายของหนาดิน ความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศ ความเขมขนของกาซเรือนกระจกในชั้น
                  บรรยากาศของโลกซึ่งบงบอกถึงสภาพแวดลอม เปนตน
                          การตอบสนอง (Response) ใชวัดระดับการตอบสนองของสังคมที่มีตอสถานภาพ
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนการตอบสนองจากภาครัฐ เอกชน/องคกร และประชาชน
                  ตัวอยางเชน การออกนโยบายหรือมาตรการตาง ๆ ของภาครัฐ เพื่อลดปญหาทรัพยากร ธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอมไมทางตรงก็ทางออม สิ่งที่มนุษยจะตองกระทำเพื่อแกไขหรือปรับปรุงกิจกรรมเกาๆ ใหดีขึ้น
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179