Page 173 - Chumphon
P. 173

4-23





                  ตารางที่ 4-2   (ตอ)


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    15    ความอุดมสมบูรณของดินลดลง   ปญหาความอุดมสมบูรณของดินลดลง พบพื้นที่ทุกอําเภอ ในจังหวัดชุมพร
                                                    ดินที่มีปญหาตอการเกษตร มีพื้นที่ 2,306,129 ไร เชนดินเปรี้ยว ดินอินทรีย ดิน
                                                    เค็มชายทะเล ดินทราย ดินตื้น เปนตน
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -การปรับปรุงบำรุงดินดวยปุยแรธาตุ แบงออก เปน 2 กลุม คือกลุมที่ 1
                                                    ปุยแรธาตุที่ไดจากหินและแรธรรมชาติ คือ หินฟอสเฟต และแรซิลไวท เชน
                                                    ปุยโพแทสเซียม ฯลฯ กลุมที่ 2 ปุยแรธาตุที่ไดจากการผลิตโดยวิธีการทาง
                                                    เคมี เชน ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยทริปเปลซูเปอรฟอสเฟต ฯลฯ ปุยแร
                                                    ธาตุทั้ง 2 กลุมนี้ จะชวยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารใหดินตามระยะเวลาที่พืช
                                                    ตองการ เพื่อนำไปสรางการเจริญเติบโตและผลผลิตไดทันความตองการ
                                                    ของพืช
                                                       -ปุยหมัก ใชเพื่อเพิ่มหรือยกระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ชวยปรับปรุง
                                                    โครงสรางดินใหดีขึ้น ทำใหดินมีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชมาก
                                                    ยิ่งขึ้น
                                                       -ปุยคอก ใชเพื่อปรับปรุงโครงสรางของดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของ
                                                    พืช ทำใหดินมีการระบายน้ำและอากาศดีขึ้น ชวยเพิ่มความคงทนของการจับตัว
                                                    เปนเม็ดดิน และเปนแหลงอาหารใหแกจุลินทรียที่เปนประโยชนในดิน
                                                       -การปรับปรุงบำรุงดินดวยปุยชีวภาพ (Biofertilizer) เปนปุยที่ไดจากวัสดุที่มี
                                                    จุลินทรียที่มีชีวิต ซึ่งเปนตัวชวยสรางหรือปลดปลอยธาตุอาหารที่เปนประโยชน
                                                    ใหกับพืช
                                                       -ปรับปรุงสมบัติทางเคมีของดิน ชวยใหดินมีความอุดมสมบูรณ ดวยการเพิ่ม
                                                    ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุใหแกดิน ซึ่งธาตุอาหารเหลานี้จะ
                                                    ปลดปลอยสูดินจึงเปนประโยชนตอพืชไดระยะยาว
                    16    การใชที่ดินไมเหมาะสม    ที่ดินไมถูกใชประโยชนยังมีอยูมาก บางสวนมีขอจํากัดดานการพังทลายของหนา
                                                    ดิน/การกัดเซาะพังทลายของหนาดินบางสวนมีคุณภาพดินเสื่อมโทรม บางสวน
                                                    เปนที่รกราง รวมทั้งบางสวนมีปญหาที่ดินทํากินของประชาชนซับซอนที่รัฐ และ
                                                    เกิดความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดิน
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -การใชประโยชนและความเหมาะสมของดินเพื่อการเพาะปลูก Agri-
                                                    Map analytic (Agri-map Online, 2565)
                                                       -ใหการมีสวนรวม การพึ่งตนเองการบริหารจัดการและการอนุรักษสิทธิ
                                                    ในสิ่งแวดลอมของชุมชน (Right to the environment การจัดการรวมกัน
                                                    (Co-Management) การประโยชนอยางชาญฉลาด (Wise use) รวมถึง
                                                    การพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable development)
                                                       -การจัดรับบอนุรักษดินและน้ำที่เหมาะสม
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178