Page 172 - Chumphon
P. 172

4-22





                  ตารางที่ 4-2   (ตอ)


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    12    โรครากขาวยางพารา          จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ปลูกยางพารา 543,229 ไร  พื้นที่คอนขางมากเหมือนกัน
                                                    ซึ่งเชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Rigidoporus microporus (Sw.) Overeem จะ
                                                    เจริญเติบโตอยางรวดเร็วในชวงฤดูฝนหรือในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง เขาทําลาย
                                                    ระบบรากทําใหตนยางยืนตนตายสงผลใหเกษตรกรสูญเสียรายไดทั้งผลผลิตน้ำ
                                                    ยางและไมยางพารา
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ปรับสภาพดินไมใหมีความเหมาะสมตอการเจริญของเชื้อสาเหตุในแปลง
                                                    ยางพาราที่มีโรคระบาดมากอนโดยแนะนําใหผสมดินปลูกดวยกํามะถันผง
                                                    100-200 กรัมตอหลุมทิ้งไวในหลุมกอนปลูกยางประมาณ 15 – 30 วัน
                                                       -การปองกันกําจัดโดยชีววิธีแนะนําใหใชเชื้อราไตรโคเดอรมาโรยรอบโคน
                                                    อัตราสวน ปุยหมัก 100 กก. : รําละเอียด 4 กก.: ไตรโคเดอรมา 1 กก.
                                                    อัตราการใช 1 กก. ตอตนควรดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อปองกันโรค
                                                    และชวยใหตนยางมีการเจริญระบบรากฝอยเพิ่มขึ้น
                    13    โรครากเนาโคนเนาทุเรียน    จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ ปลูกทุเรียน  168,869  ไร  พื้นที่คอนขางมากเหมือนกัน
                                                    มีชื้อรา Phytophthora palmivora ในทุเรียน ที่มีสภาพอากาศในชวงอากาศ
                                                    รอนชื้น มีฝนตก และฝนตกหนัก ในระยะทุเรียน พัฒนาผล - เก็บเกี่ยว
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูก หรือทำเกษตรผสมผสาน
                                                       - แปลงปลูกควรมีการระบายน้ำดี ไมควรมีน้ำทวมขัง และเมื่อมีน้ำทวม
                                                    ขังควรรีบระบายออก จัดระบบอนุรักษดินและน้ำ
                                                       - ปรับปรุงดิน โดยใสปุยคอก ปุยหมัก และปรับสภาพดินใหมีคาความ
                                                    เปนกรดดาง 6.5 กรณีดินที่เปนกรดจัด ใหใสปูนขาวหรือโดโลไมท อัตรา
                                                    100-200 กิโลกรัม/ไร
                    14.   โรคลำตนเนาปาลมน้ำมัน   จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ปลูกปาลมน้ำมัน 1,017,155  ไร พื้นที่คอนขางมาก
                                                    เหมือนกัน มีสาเหตุมาจากเชื้อรา Ganoderma sp. เปนดอกเห็ดคลายเห็ด
                                                    หลินจือ การพบดอกเห็ดบนตนปาลมนั้นแสดงวาเสนใยของเชื้อราไดเขาไป
                                                    ทำลายเซลลในลำตนปาลมน้ำมันไดเปนจำนวนมากแลว มักจะทำใหตนปาลม
                                                    น้ำมันยืนตนตายไดภายใน 2-3 ป หลังแสดงอาการของโรค โดยเชื้อราจะเขา
                                                    ทำลายจากรากสูลำตนผานทางทอลำเลียงอาหารและน้ำ ทำใหเนื้อเยื่อภายในลำ
                                                    ตนเกิดแผลเนาสีน้ำตาล
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูก หรือทำเกษตรผสมผสาน
                                                       -ใชเชื้อราไตรโคเดอรมา สายพันธุ NST-009 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการ
                                                    ควบคุมโรคปาลมน้ำมัน และโรคพืช เชน โรครากเนาโคนเนาของทุเรียน โรคราก
                                                    เนาโคนเนาของพืชตระกูลสม และโรครากขาวรากแดงของตนยางพารา
                                                       -เชื้อราไมคอรไรซา มีคุณสมบัติในการแยงกับเชื้อรากอโรคเพื่อเขาอาศัยใน
                                                    เนื้อเยื่อตนปาลมน้ำมัน และยังสามารถดูดซับธาตุอาหารและความชื้นใหกับตน
                                                    ปาลมน้ำมันไดดีอีกดวย
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177