Page 171 - Chumphon
P. 171

4-21





                  ตารางที่ 4-2   (ตอ)


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    8.    ปญหาคุณภาพแหลงน้ำเสื่อม  เนื่องจากแหลงน้ำหลัก มีความสกปรกไมเหมาะสมตอการใชประโยชนทั้งดาน
                          โทรมลง และปญหาขยะ        อุปโภคและบริโภค นอกจากจะสงผลกระทบตอทรัพยากรและระบบนิเวศแหลง
                                                    น้ำ โดยทำใหความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตลดลงแลวยังสงผลกระทบตอเนื่องถึง
                                                    ประชาชน อีกทั้งยังกอใหเกิดผลเสียหลักตอสุขภาพอนามัย สาเหตุหลักมีการทิ้ง
                                                    ขยะลงสูแมน้ำลำคลองเปนจำนวนมาก ประกอบกับบริเวณดังกลาวเปนชวง
                                                    ปลายน้ำ ซึ่งมีการไหลมารวมของแมน้ำสายตางๆ ที่ไหลผานชุมชนเมือง มีทั้ง
                                                    ขยะมูลฝอยและของเสียตางๆ ไหลมารวมกัน กอนลงสูทะเล ทำใหเกิดปญหา
                                                    มลภาวะและแมน้ำลำคลองเนาเสีย (สำนักงานจังหวัดชุมพร, 2558)
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -จัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
                                                        -การจัดการระบบกำจัดขยะที่เหมาะสม
                                                        -การจัดระบบอนุรักษดินและน้ำที่เหมาะสม
                    9     เกษตรกรผลิตสินคาไมตรงกับ  ไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร เชน
                          ความตองการของตลาด        มังคุด ทุเรียน เปนตน เพื่อยกระดับการผลิตไปสูสินคาที่มีคุณภาพมาตรฐาน
                                                    สอดคลองกับความตองการของตลาดและอุตสาหกรรมตอเนื่องโดยเฉพาะ
                                                    อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมพลังงาน และอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ ตอไป
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                        -เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิต
                                                       -การประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมการผลิต
                                                       -เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
                    10    การขาดน้ำ เกษตกรทำสวน     โดยเฉพาะในพื้นที่นอกเขตชลประทาน มีปญหาในเรื่องการบริการ เพราะน้ำไม
                          ทุเรียน ยางพารา ปาลมน้ำมัน  เพียงพอตอการทำนาของเกษตรกร ลักษณะเนื้อดินไมเอื้อตอการอุมน้ำในบาง
                          และกาแฟ                   พื้นที่
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ใชน้ำใหมีประสิทธิภาพ หรือระบบน้ำหยด
                                                        -ปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำเกษตรผสมผสาน หรือเกษตรอินทรีย
                                                        -การจัดระบบอนุรักษดินและน้ำที่เหมาะสม
                    11    ปจจัยทางดานการผลิตมีราคา  ปจจัยทางดานการผลิตไมผล ไมยืนตน มีราคาแพงเชน ปุยเคมี สารเคมี เปนตน
                          แพง                       แนวทางการจัดการ
                                                       -เกษตรกรควรรวมกลุมจัดตั้งกลุมเกษตรแปลงใหญรวมกัน เพื่อจัดหา
                                                    ปจจัยการผลิตรวมกัน โดยรวมกันซื้อ รวมกันขาย รวมกันจำหนาย
                                                       - ควรผสมปุยใชเอง
                                                       - ควรทำปุยหมัก ปุยคอกใชเอง
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176