Page 43 - Nongbualamphu
P. 43

2-27




                  ตารางที่ 2-14  พื้นที่ศักยภาพดินของยางพารารายอ าเภอ จังหวัดหนองบัวล าภู ปี 2564
                                        เหมาะสมปานกลาง      เหมาะสมเล็กน้อย    ไม่เหมาะสม
                         อ าเภอ                                                                 รวม
                                              (S2)               (S3)              (N)
                      นำกลำง                  192,784             84,030         68,325        345,139
                      นำวัง                    37,210             52,133         23,740        113,083
                      โนนสัง                  151,586              1,057        109,263        261,906

                      เมืองหนองบัวล ำภู       424,440             16,202        157,874        598,516
                      ศรีบุญเรือง             272,481            121,930        132,435        526,846
                      สุวรรณคูหำ               93,414             99,718        105,433        298,565

                          รวม               1,171,915            375,070        597,070       2,144,055
                         ร้อยละ              54.66               17.49            27.85       100.00

                  ที่มา : กรมพัฒนำที่ดิน (2564)


                                การผลิต

                                ยำงพำรำเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดหนองบัวล ำภู โดยรัฐบำลมีนโยบำยส่งเสริม
                  ขยำยพื้นที่ปลูกยำงในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่ปี 2532 เนื่องจำกเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนดีกว่ำ

                  พืชอื่น อีกทั้งควำมต้องกำรยำงธรรมชำติเพิ่มขึ้นท ำให้มีอัตรำกำรขยำยตัวค่อนข้ำงมำกแต่พื้นที่ปลูก

                  ต้องเหมำะสมต่อกำรเจริญเติบโต โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ด ำเนินกำรตำมนโยบำยกำรบริหำร
                  จัดกำรเขตเกษตรเศรษฐกิจส ำหรับสินค้ำเกษตรที่ส ำคัญ (Zoning) ซึ่งสินค้ำยำงพำรำเป็นพืชเศรษฐกิจ

                  ที่ด ำเนินกำรตำมนโยบำยดังกล่ำว จังหวัดหนองบัวล ำภูมีกำรปลูกยำงพำรำทุกอ ำเภอ มีลักษณะภูมิประเทศ
                  และภูมิอำกำศเหมำะสมที่จะปลูก พันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์ RRIM 600 รองลงมำ พันธุ์ RRIP 251

                  และพันธุ์ RRIP 408 ซึ่งพันธุ์ RRIT 251 และพันธุ์ RRIT 408 เป็นพันธุ์ใหม่ที่สถำบันวิจัยยำง กรมวิชำกำรเกษตร

                  ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เพรำะปลูกง่ำย โตไว ให้ผลผลิตสูง แต่พันธุ์ RRIM 600 ต้ำนทำนโรค และทนแล้ง
                  ได้ดีกว่ำพันธุ์ใหม่ ยำงพำรำในช่วง 3 ปี (ปี 2561–2563) มีเนื้อที่เพำะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว แนวโน้มเพิ่มขึ้น

                  คิดเป็นร้อยละ 4.61 และ 6.59 ตำมล ำดับ ส ำหรับผลผลิตรวม และผลผลิตต่อไร่ มีแนวโน้มลดลง คิดเป็น
                  ร้อยละ 2.38 และ 8.51 ตำมล ำดับ เนื่องจำกยำงพำรำที่เริ่มเปิดกรีดให้ผลผลิตน้อย (ตำรำงที่ 2-15)

                                ภาวะการตลาด จำกข้อมูลส ำนักงำนพำณิชย์จังหวัดหนองบัวล ำภู พบว่ำ เกษตรกร

                  ขำยผลผลิตเป็นแบบยำงก้อนถ้วยและน้ ำยำงสด รำคำยำงก้อนถ้วย ปี 2563–2564 เท่ำกับ 21.66 และ
                  23.38 บำทต่อกิโลกรัม ตำมล ำดับ ส่วนรำคำน้ ำยำงสด ปี 2563–2564 เท่ำกับ 43.84 และ 45.49 บำท

                  ต่อกิโลกรัม ตำมล ำดับ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48