Page 39 - Nongbualamphu
P. 39

2-23




                  น้ ำตำลในพื้นที่ แต่มีเกษตรกรชำวไร่อ้อยบำงส่วนที่ต้องกำรกำรสนับสนุนจำกโรงงำน จำกกำรที่เกษตรกร
                  เป็นสมำชิกเปิดโควต้ำอ้อย โดยโรงงำนฯ จะสนับสนุนในเรื่องของเงินทุน ปัจจัยกำรผลิตต่ำง ๆ เช่น

                  ปุ๋ย ยำปรำบศัตรูพืช และมีเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยกำรผลิตให้ค ำแนะน ำองค์ควำมรู้ในด้ำนต่ำง ๆ ให้แก่เกษตรกร
                  ที่เป็นสมำชิก เป็นต้น เกษตรกรชำวไร่อ้อยจะน ำผลผลิตขำยผ่ำนตัวแทนชำวไร่อ้อยหรือกลุ่มพ่อค้ำทั่วไป

                  หรือเรียกว่ำส่งให้กับหัวหน้ำโควต้ำหรือลำนรับซื้อย่อย ซึ่งช่องทำงนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกรรำยย่อย
                  ที่มีพื้นที่เพำะปลูกไม่มำก และระยะทำงค่อนข้ำงไกลจำกโรงงำนฯ เป็นกำรลดต้นทุนในกำรขนส่งผลผลิต

                  ให้กับเกษตรกร รูปแบบกำรส่งอ้อยให้หัวหน้ำโควต้ำ ประกอบด้วย กำรขำยอ้อยในโควต้ำให้หัวหน้ำโควต้ำ
                  หรือพ่อค้ำทั่วไป กำรขำยเหมำสวนมีทั้งขำยเหมำเป็นตันและขำยเหมำเป็นไร่ และขำยอ้อยเขียว ซึ่งกำรขำย

                  อ้อยเขียว เกษตรกรจะท ำกำรเตรียมดิน คัดเลือกพันธุ์ และปลูกอ้อย หลังจำกปลูกอ้อยเสร็จจะขำยอ้อยทันที

                  หลังจำกนั้นผู้ซื้อจะเข้ำมำดูแล บ ำรุงรักษำใส่ปุ๋ย และตัดอ้อยขำยเอง (ดังแสดงในรูป 2-9) จำกกำร
                  ประมำณกำรปริมำณผลผลิตและควำมต้องกำรใช้อ้อยโรงงำนในจังหวัดหนองบัวล ำภูในภำพรวม พบว่ำ

                  ผลผลิตอ้อยโรงงำนของจังหวัดหนองบัวล ำภูมีปริมำณเพียงพอกับควำมต้องกำรใช้ โดยใช้ในจังหวัดเพื่อใช้
                  แปรรูปในโรงงำนน้ ำตำลเท่ำนั้น ส่วนที่เหลือจะส่งออกไปยังจังหวัดใกล้เคียงทั้งหมด ซึ่งมีควำมต้องกำร

                  อ้อยโรงงำนมำก ดังนั้น จังหวัดหนองบัวล ำภูจึงไม่มีปัญหำเรื่องอ้อยโรงงำนล้นหรือขำดตลำดมำกนัก



                                                       เกษตรกร




                                            พ่อค้ารวบรวม


                                            หัวหน้าโควต้า



                                                                  โรงงานน้ าตาล

                  รูปที่ 2-9 วิถีการตลาดสินค้าอ้อยโรงงาน

                  ที่มา : จำกกำรส ำรวจ


                           6.3)  มันส าปะหลัง จำกรำยงำนแนวทำงกำรส่งเสริมกำรเกษตรที่เหมำะสมตำมฐำนข้อมูล
                  แผนที่เกษตรเชิงรุกจังหวัดหนองบัวล ำภู กรมพัฒนำที่ดิน ปี 2564 พบว่ำ จำกฐำนข้อมูลในแผนที่เกษตร

                  เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเครำะห์ศักยภำพของพื้นที่ปลูกมันส ำปะหลัง จัดแบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่

                  (ตำรำงที่ 2-12)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44