Page 38 - Nongbualamphu
P. 38

2-22




                                       เหมาะสมปานกลาง  เหมาะสมเล็กน้อย  ไม่เหมาะสม
                         อ าเภอ                                                               รวม
                                             (S2)               (S3)            (N)

                      นำกลำง                 103,461            92,378         148,899       344,738

                      นำวัง                   25,889            59,017          28,178       113,084
                      โนนสัง                  14,086               810         246,982       261,878

                      เมืองหนองบัว           225,580            27,610         344,950       598,140
                      ศรีบุญเรือง            251,006            44,570         230,654       526,230

                      สุวรรณคูหำ              80,796            94,260         123,417       298,473

                          รวม               700,818            318,645      1,123,080      2,142,543
                         ร้อยละ             32.71              14.87           52.42        100.00

                  ที่มา : กรมพัฒนำที่ดิน (2564)


                                การผลิต จังหวัดหนองบัวล ำภู เป็นแหล่งผลิตอ้อยโรงงำนที่ส ำคัญแห่งหนึ่งของภำค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับมีโรงงำนน้ ำตำลที่รองรับปริมำณผลผลิต ส่งผลให้อ้อยโรงงำนเป็นพืช
                  เศรษฐกิจที่เกษตรกรให้ควำมส ำคัญและสำมำรถปรับเปลี่ยนจำกพืชชนิดอื่นหันไปปลูกอ้อยโรงงำนซึ่งให้

                  ผลตอบแทนที่ดีกว่ำมำกขึ้น อ้อยโรงงำนจึงเป็นสินค้ำทำงเลือกที่มีควำมส ำคัญต่อเศรษฐกิจของจังหวัด

                  หนองบัวล ำภู พันธุ์อ้อยโรงงำนที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ขอนแก่น 6 เนื่องจำกชอบดินร่วน
                  ปนทรำย และได้รับกำรปรับปรุงพันธุ์จำกศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น เพื่อให้ผลผลิตสูงกว่ำพันธุ์อื่น ๆ และมีค่ำ

                  ควำมหวำนมำกกว่ำ 12 ซีซีเอส นอกจำกนี้พันธุ์อื่น ๆ ที่เกษตรกรนิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์อู่ทอง 12 และ

                  พันธุ์เค 88-92 เป็นต้น
                                ภาวะการตลาด จำกรำยงำนสถิติกำรเกษตรของประเทศไทย ปี 2564 ส ำนักงำน

                  เศรษฐกิจกำรเกษตร พบว่ำ รำคำอ้อยโรงงำนที่เกษตรกรขำยได้ในปี 2564 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจำกปี 2563
                  โดยเพิ่มขึ้นจำก 673 บำทต่อตัน เป็น 873 บำทต่อตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.72

                                วิถีการตลาดอ้อยโรงงาน ของจังหวัดหนองบัวล ำภู เกษตรกรชำวไร่อ้อยจะน ำผลผลิต
                  ส่งให้กับโรงงำนน้ ำตำลเอรำวัณโดยตรง ซึ่งผลผลิตที่เกษตรกรสำมำรถน ำมำขำยให้กับโรงงำนฯ นั้น มีข้อก ำหนด

                  ว่ำเกษตรกรจะต้องสมัครเป็นสมำชิกและขึ้นทะเบียนกับโรงงำน และต้องขำยผลผลิตให้กับโรงงำนหรือ

                  สถำนีรวบรวมผลผลิตของโรงงำน ที่อยู่ในพื้นที่ที่เกษตรกรสำมำรถน ำผลผลิตไปส่งได้ โดยที่จะไม่ผ่ำน
                  หัวหน้ำโควต้ำหรือผู้รวบรวมในพื้นที่แต่อย่ำงใด โดยโรงงำนน้ ำตำลเอรำวัณ มีลำนรับซื้อหรือจุดขนถ่ำย

                  มำกกว่ำ 50 จุด ซึ่งช่องทำงนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกรรำยใหญ่ที่เป็นสมำชิกโควต้ำและมีพื้นที่เพำะปลูก
                  อ้อยของตนเองหรือเช่ำพื้นที่เพำะปลูกเพิ่มค่อนข้ำงมำก และมีควำมพร้อมในเรื่องของกำรผลิตที่ชัดเจน

                  ไม่ว่ำจะเป็นเงินทุน เครื่องจักรกล แรงงำน และปัจจัยกำรผลิต โดยไม่ต้องรับกำรสนับสนุนจำกโรงงำน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43