Page 52 - Lamphun
P. 52

3-12






                                    - อ่างเก็บน้ าแม่เมย ต าบลทาขุมเงิน อ าเภอแม่ทา จังหวัดล าพูน ปริมาตรน้ าเก็บกัก 3.6

                  ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ชลประทาน 2,621 ไร่
                                    - ฝายเหมืองดั้ง ต าบลป่าพลู อ าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล าพูน พื้นที่ชลประทาน 11,230 ไร่
                                    - ฝายหนองสลีก ต าบลบ้านเรือน อ าเภอป่าซาง จังหวัดล าพูน พื้นที่ชลประทาน 1,232 ไร่

                                    - ฝายวังตอง ต าบลศรีบัวบาน อ าเภอเมืองล าพูน จังหวัดล าพูน พื้นที่ชลประทาน 4,164 ไร่
                                    - ฝายมหาโชค ต าบลศรีบัวบาน อ าเภอเมืองล าพูน จังหวัดล าพูน พื้นที่ชลประทาน 4,597 ไร่
                                    - ฝายชลขันธ์พินิจ ต าบลดอนแก้ว อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ชลประทาน
                  44,515 ไร่ พื้นที่ชลประทานในเขตจังหวัดล าพูน 33,075 ไร่
                                (2) แหล่งน ้ำในไร่นำนอกเขตชลประทำน เป็นกิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดิน มีวัตถุประสงค์

                  เพื่อใช้ในการเกษตร แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ าในช่วงที่ขาดแคลน คือ บ่อน้ าในไร่นา ขนาด 1,260
                  ล้านลูกบาศก์เมตร จากการตรวจสอบบ่อน้ าในไร่นาที่มีอยู่ในจังหวัดล าพูน มีจ านวน 630 บ่อ โดย
                  ปี พ.ศ.2558-2564 ด าเนินการขุดแล้ว 674 บ่อ

                        3.2.2 น้ าใต้ดิน  ในหัวข้อนี้จะพิจารณาเฉพาะน้ าบาดาลซึ่งเกิดจากน้ าผิวดินที่ซึมผ่านชั้นดิน
                  ชั้นหินต่างๆ ถูกกักเก็บและสะสมอยู่ระหว่างช่องว่าง ระหว่างเม็ดดินหรือรอยแตกของชั้นหิน ชั้นดินหรือ
                  ชั้นหินที่อิ่มตัวด้วยน้ า เรียกว่า ชั้นหินอุ้มน้ า (Aquifer) ถือเป็นแหล่งน้ าบาดาล จากข้อมูลของ
                  กรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2565) พบว่า จังหวัดล าพูนมีจ านวนบ่อบาดาล 2,986 บ่อ (รูปที่3-4) และ

                  ชนิดหินให้น้ า (รูปที่3-5) รายละเอียด ดังนี้
                                - ชั้นหินให้น้ าที่เป็นตะกอนกรวดทราย มีเนื้อที่ 911,549 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 32.37
                  ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วย กรวด ทราย ทรายแป้ง เสาหิน และดินเหนียว ซึ่งยังไม่จับตัวกัน น้ าใต้
                  ดินจะถูกกักเก็บอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนต่างๆ สามารถจ าแนกออกเป็น ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนน้ า

                  พา (Qfd) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคใหม่ (Qyt) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคเก่า (Qot)
                  ชั้นหินให้น้ าตะกอนเศษหินเชิงเขา (Qcl) และชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนหินร่วนกึ่งแข็ง (Tsc) กระจายตัวมาก
                  อยู่ในอ าเภอลี้ อ าเภอเมืองล าพูน และอ าเภอป่าซาง
                                - ชั้นหินให้น้ าที่เป็นหินตะกอน มีเนื้อที่ 438,295 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.06 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ประกอบด้วยหินทราย หินดินดาน หินน้ ามัน หินกรวดมน หินเชิร์ต หินโคลน หินชนวน
                  หินควอร์ตไซต์ และหินลิกไนต์ โดยน้ าใต้ดินจะถูกกักเก็บไว้ในรอยแตก รอยเลื่อน หรือรอยต่อระหว่าง
                  ชั้นหิน สามารถจ าแนกออกเป็น ชั้นหินอุ้มน้ าหินชุดล าปาง (TRlp) ชั้นหินอุ้มน้ าหินชั้นกึ่งแปร (PCms)

                  ชั้นหินอุ้มน้ าหินชุดโคราชตอนกลาง (Jmk) และชั้นหินอุ้มน้ าหินชุดโคราชตอนล่าง (TRlk) กระจายตัวมาก
                  อยู่ในอ าเภอแม่ทา อ าเภอเมืองล าพูน และอ าเภอลี้
                                - ชั้นหินให้น้ าที่เป็นหินคาร์บอเนต มีเนื้อที่ 479,781 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.04 ของเนื้อที่
                  จังหวัด คุณสมบัติการกักเก็บน้ าบาดาล ขึ้นอยู่กับโพรงของหินปูนใต้ดิน รอยแตก ประกอบด้วย ชั้นหิน
                  อุ้มน้ าหินคาร์บอเนตยุคเพอร์เมียน (Pc) เป็นหินปูนเนื้อแน่น ลักษณะเป็นชั้น สีเทาถึงเข้ม บางบริเวณมี

                  กระเปราะหินเชิร์ต และหินดินดานแทรกสลับอยู่ ส่วนใหญ่มีแร่แคลไซต์เป็นส่วนประกอบ ซึ่งมีคุณสมบัติ
                  ละลายน้ าได้ง่าย การในทางอุทกธรณีวิทยา หินปูนเป็นชั้นหินอุ้มน้ าที่มีศักยภาพการให้น้ าสูงกว่าหินแข็ง
                  ประเภทอื่น การเจาะบ่อน้ าบาดาลในหินปูนบริเวณพื้นที่ภูเขามักไม่พบน้ าบาดาล และชั้นหินอุ้มน้ า

                  หินปูนยุคออร์โดวิเชียน (Ols) เป็นหินปูนชั้นบางๆ สีเทาถึงเทาด า เนื้อหินมีการตกผลึกใหม่ มีเนื้อดินปน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57