Page 37 - Lamphun
P. 37

2-23





                  2 บริษัทตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดล ำพูน วิถีกำรตลำดข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ ประกอบด้วย พ่อค้ำรวบรวม เป็นผู้รับซื้อ

                  ผลผลิตจำกเกษตรกรโดยตรง เมื่อรวบรวมสินค้ำจะท ำกำรปรับปรุงคุณภำพสินค้ำให้ตรงกับควำม
                  ต้องกำรของผู้ซื้อตลำดปลำยทำง ได้แก่ อุตสำหกรรมอำหำรสัตว์ ฟำร์มเลี้ยงสัตว์ ร้ำนค้ำปลีกอำหำรสัตว์
                  ส ำหรับผลผลิตที่มีคุณภำพต่ ำกว่ำมำตรฐำนที่โรงงำนอุตสำหกรรมอำหำรสัตว์ก ำหนด พ่อค้ำรวบรวมจะ

                  ส่งออกวัตถุดิบไปจังหวัดอื่น สถำบันเกษตรกร เป็นผู้รวบรวมข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์จำกเกษตรกรที่เป็น
                  สมำชิก และน ำสินค้ำมำปรับปรุงคุณภำพสินค้ำโดยมีโรงอบลดควำมชื้นและโรงเก็บเมล็ดข้ำวโพดของ
                  สถำบันเกษตรกรเอง แล้วจ ำหน่ำยให้กับอุตสำหกรรมผลิตอำหำรสัตว์ (รูปที่ 2-6)




                         น ำเข้ำวัตถุดิบจำกจังหวัดอื่น

                                                        41.85%        อุตสำหกรรมอำหำรสัตว์
                                          พ่อค้ำรวบรวม                      63.43%

                        เกษตรกร             76.20%      2.16%      บริษัทและฟำร์มเลี้ยงสัตว์
                          100%                                            3.24%
                                                       32.19%
                                                                    ส่งออกวัตถุดิบไปจังหวัดอื่น

                                                        1.14%             33.33%
                                                                             1.08%
                                          สถำบันเกษตรกร
                                             23.80%                             21.58%


                  รูปที่ 2-6 วิถีการตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จังหวัดล าพูน
                  ที่มา:  ส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 1, 2563

                            2.2) พืชเศรษฐกิจอนาคตไกล

                                  จำกกำรศึกษำข้อมูลต่ำงๆ ของจังหวัดล ำพูน เช่น แนวทำงกำรส่งเสริมกำรเกษตร
                  ที่เหมำะสมตำมฐำนข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุกจังหวัดล ำพูน (กรมพัฒนำที่ดิน, 2564) โครงกำรบริหำร
                  จัดกำรกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมแผนที่เกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (ส ำนักงำนเศรษฐกิจที่ 1,
                  2564) รำยงำนของส่วนรำชกำร และเอกชนที่เกี่ยวข้อง สำมำรถสรุปพืชทำงเลือกที่มีอนำคตไกลได้ดังนี้

                                  1) มะม่วงน้ าดอกไม้
                                      จำกรำยงำนของส ำนักงำนเศรษฐกิจที่ 1 (2564) พบว่ำ ปี 2563 จังหวัดเชียงใหม่
                  เชียงรำย ล ำปำง ล ำพูน พะเยำ และแม่ฮ่องสอน มีพื้นที่ยืนต้น 37,136 ไร่ พื้นที่ให้ผล 30,206 ไร่

                  ผลผลิตรวม 28,701 ตัน และผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 946 กิโลกรัม โดยจังหวัดล ำพูนมีพื้นที่ยืนต้น 317 ไร่
                  พื้นที่ให้ผล 282 ไร่ ผลผลิตรวม 266 ตัน และผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 942 กิโลกรัม ปี 2562/63 ต้นทุนกำรผลิต
                  มะม่วงน้ ำดอกไม้สีทองเฉลี่ยไร่ละ 11,736.22 บำท ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 989 กิโลกรัม รำคำขำยเฉลี่ย
                  กิโลกรัมละ 28.49 บำท มีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 16,440.39 บำท ด้ำนกำรตลำดผลผลิตเกษตรกร
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42