Page 35 - Lamphun
P. 35

2-21





                                      วิถีการตลาด วิถีกำรตลำดข้ำวเปลือกนำปีของจังหวัดล ำพูน หลังจำกที่เกษตรกร

                  เก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วเกษตรกรจะเก็บผลผลิตส่วนหนึ่งประมำณร้อยละ 6.00 ไว้ส ำหรับกำรบริโภค
                  ในครัวเรือน และเก็บไว้ท ำเมล็ดพันธุ์ ส่วนผลผลิตอีกร้อยละ 94 เกษตรกรจะจ ำหน่ำยข้ำวเปลือกให้กับ
                  พ่อค้ำรวบรวม/ท่ำข้ำว สถำบันเกษตรกร (สหกรณ์) และจ ำหน่ำยข้ำวเปลือกให้กับโรงสีต่ำงจังหวัด

                  (รูปที่ 2-5)

                                                                         3.50%      เก็บไว้เพื่อบริโภค
                                                        เกษตรกร
                                                         100%
                                                                         2.50%        เมล็ดพันธุ์

                        ภำยใน          69.01%                              24.99%
                        จังหวัด           พ่อค้ำรวบรวม                สถำบันเกษตรกร
                                               8.85%        6.25%

                                    60.16%
                                                      โรงสีข้ำว 15.10%


                       ภำยนอก                                          18.74%
                        จังหวัด            โรงสีข้ำว 78.90%

                  รูปที่ 2-5 วิถีการตลาดข้าวเปลือก จังหวัดล าพูน
                  ที่มา:  ส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 1, 2563

                                  3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                      สถานการณ์การผลิตและการตลาด จำกรำยงำนสถิติกำรเกษตรของประเทศไทย

                  ปี 2565 (ส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร, 2565) รำยงำนว่ำ ปี 2564 จังหวัดล ำพูนมีพื้นที่ปลูก 80,423 ไร่
                  พื้นที่เก็บเกี่ยว 80,423 ไร่ ผลผลิตรวม 57,691 ตัน และผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 717 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจำกปี

                  2563 ร้อยละ 2.75 6.32 7.24 และ 0.84 ตำมล ำดับ
                                      การผลิต กำรปลูกข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดล ำพูนมีแหล่งปลูกที่ส ำคัญในอ ำเภอลี้
                  ปีเพำะปลูก 2558/59-2562/63 พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิตรวม มีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 2.50
                  2.84 และ 1.29 ต่อปี ตำมล ำดับ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.60 ต่อปี (ตำรำงที่ 2-11)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40