Page 43 - khonkaen
P. 43

2-29





                  ปลูกพืชไมเหมาะสมเปนไมผล การสงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุม ในรูปแบบของวิสาหกิจชุมชนหรือ

                  สหกรณมากขึ้น อีกทั้ง ยังมีการสนับสนุนโรงคัดเกรดมะมวงเพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ ตรงกับความ
                  ตองการของตลาดซึ่งแนวโนมในอนาคตจะมีการเพิ่มตลาดสงออกตางประเทศ เชน ตลาดสหรัฐอเมริกา
                  เปนตน นอกจากนี้เกษตรกรควรเฝาระวังโรคแอนแทรกโนสที่เกิดในชวงอากาศรอนขึ้น อาจสงผล

                  กระทบตอผลผลิตไดโดยเฉพาะมะมวงที่อยูในชวงใกลเก็บเกี่ยวและเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต
                              2.2)  โกโก เปนพืชเขตรอน จัดเปนไมยืนตนทรงพุมขนาดเล็ก เจริญเติบโตไดดีในที่มี

                  อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส พื้นที่ที่เหมาะสมควรมีฝนตกสม่ําเสมอตลอดทั้งป หรือ
                  ควรมีแหลงน้ําเพียงพอ โกโกชอบดินระบายน้ําดี สามารถใหผลผลิตไดตั้งแตอายุ 3 ป เมื่อตนยิ่งมีอายุ
                  มากก็ยิ่งใหผลผลิตสูง สามารถเก็บเกี่ยวผลไดทุก 15 วัน ตลอดทั้งป สถานการณการผลิตโกโกในพื้นที่

                  จังหวัดขอนแกนมีบริษัทโกโกไทย 2017 จํากัด สงเสริมปลูกใหกับเกษตรกรตามระบบเกษตรพันธสัญญา
                  เมื่อเกษตรกรไดผลผลิต บริษัทจะรับซื้อผลโกโกสุกของเกษตรกรถึงพื้นที่ในราคาตามทองตลาด เพื่อนํา
                  ผลผลิตไปแปรรูปเปนผงโกโก ไขมันโกโก และโกโกอบแหง โดยผลผลิตจําหนายภายในประเทศรอยละ
                  80 สงออกไปยังกัมพูชาและลาวรอยละ 20 (หนามองฟา เทาหยั่งดิน : “โกโก” พืชทางเลือกใหม, 2563,

                  14 พฤษภาคม) ป 2564 จังหวัดขอนแกนมีพื้นที่ปลูก 1,125 ไร พื้นที่เก็บเกี่ยว 13 ไร ไดรับผลผลิตรวม
                  7,550 กิโลกรัม และผลผลิตเฉลี่ยไรละ 580.77 กิโลกรัม จากการศึกษาพบวา การผลิตโกโกในจังหวัด
                  ขอนแกนมีตนทุนเฉลี่ยไรละ 8,000-12,500 บาท มีราคาขายเฉลี่ยกิโลกรัมละ 7-15 บาท (กรมสงเสริม
                  การเกษตร, 2564ข)

                                2.3) ถั่วเหลือง เปนพืชเศรษฐกิจ 1 ใน 5 พืชที่อาเซียนจัดเปนพืชนํารองที่มี
                  ความสําคัญเพื่อสรางความมั่นคงทางอาหารของภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากเปนพืชสําคัญที่มีคุณคาทาง
                  โภชนาการสูงและใชกับอุตสาหกรรมอาหารสัตวอุตสาหกรรมน้ํามันพืช และอุตสาหกรรมอาหารมนุษย
                  แตเปนที่ทราบกันดีวาปจจุบันอัตรากากรเติบโตของพื้นที่ปลูกในประเทศไทยลดลงมากที่สุดในกลุม

                  ประเทศอาเซียน ซึ่งปจจุบันและอนาคตไทยยังมีความจําเปนตองนําเขาผลผลิตจากตางประเทศเปน
                  จํานวนมาก โดยเฉพาะจากประเทศที่ปลูกถั่วเหลืองดัดแปลงพันธุกรรม ทําใหสูญเสียงเงินตรา
                  ตางประเทศ และมีความเสียงสูงมากในดานการนําเขาประเทศอยางยั่งยืน

                                2.4) ถั่วเขียว เปนพืชหนึ่งที่อยูในสถานภาพที่ขาดความมั่นคงของอุปทาน เนื่องจาก
                  ผลผลิตภายในประเทศมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องในขณะที่อุปสงคเพิ่มขึ้น จากขอมูลสถานการณการ
                  ผลิตและสงออก ดูเหมือนจะไมขาดแคลนและยังมีการสงออกในปริมาณมากดวย แตขอเท็จจริงแลวมี
                  การใชในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารลดลงเนื่องจากมีอุปทานของผลผลิตและราคาที่ไมแนนอน จึงทําให
                  ผูประกอบการในอุตสาหกรรมแปรรูป โดยเฉพาะการผลิตวุนเสนหันไปใชวัตถุดิบอื่นที่มีราคาถูกกวาแทน

                                2.5) ถั่วลิสง มีความสําคัญตออุตสาหกรรมการผลิตภัณฑอาหารของประเทศ และ
                  อุตสาหกรรมในดานนี้ของไทยยังมีศักยภาพอีกมากในการผลิต เพื่อบริโภคและสงออก แตสถานการณการ
                  ผลิต ณ ปจจุบัน มีการผลิตลดลงอยางตอเนื่อง ทําใหประเทศไทยตองนําเขาถั่วลิสงในปริมาณที่เพิ่มขึ้น

                  ปญหาการผลิตในประเทศ คือการขาดแคลนพันธุดีและเมล็ดพันธุที่มีคุณภาพเหมาะแกการเพาะปลูก
                  ตลอดจนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวที่ลดการสูญเสีย และประหยัดแรงงานโดยเฉพาะการใชเครื่องจักรกล
                  การเกษตรขนาดเล็กในการปลูกและเก็บเกี่ยว







                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48