Page 39 - khonkaen
P. 39

2-25





                                  วิถีการตลาด เกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังโรงงาน จังหวัดขอนแกน เมื่อเก็บเกี่ยว

                  มันสําปะหลังโรงงานจะจําหนายมันสําปะหลังใหแกลานมันเสน/ลานรวบรวมรอยละ 67.00 และโรงงาน
                  แปงมันสําปะหลังโรงงานรอยละ 33.00 ลานรวบรวมจะจําหนายใหกับโรงงานแปรรูปในพื้นที่จังหวัด
                  ขอนแกนรอยละ 53.60 และสงไปจําหนายใหกับโรงงานแปรรูปในตางจังหวัดไดแก จังหวัดกาฬสินธุ

                  มหาสารคาม และนครราชสีมา โรงงานแปงมันสําปะหลังโรงงานเมื่อทําการแปรรูปเปน
                  แปงมันสําปะหลังโรงงานแลวจําหนายใหกับพอคาขายสงในประเทศเพื่อใชในอุตสาหกรรมตอเนื่อง
                  รอยละ 20.00 และจําหนายใหผูสงออกรอยละ 80.00 (รูปที่ 2-7)



                                                    เกษตรกร
                                                67.00%
                                                                   13.40%

                                                   ลานรวบรวม         สงออกนอกจังหวัด
                                  33.00%
                                                          53.60%
                                              โรงงานแปงมันฯ/มันเสน


                                   ขายใหกับผูใชในประเทศ   ขายใหกับผูสงออก


                  รูปที่ 2-7 วิถีการตลาดมันสําปะหลังโรงงาน จังหวัดขอนแกน ปเพาะปลูก 2562/63

                  ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4, 2563

                              1.4)  ยางพารา
                                  สถานการณการผลิตและการตลาด จากรายงานแนวทางการสงเสริม
                  การเกษตรที่เหมาะสมตามฐานขอมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก จังหวัดขอนแกน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564)

                  จัดแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ 1 พื้นที่ปลูกที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และพื้นที่ปลูกที่มีความเหมาะสม
                  ปานกลาง (S2) รวมพื้นที่ 1,689,353 ไร คิดเปนรอยละ 30.51 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน และกลุมที่ 2
                  พื้นที่ปลูกที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และพื้นที่ปลูกไมมีความเหมาะสม (N) รวม 3,847,728 ไร หรือ

                  คิดเปนรอยละ 69.49 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน (ตารางที่ 2-16)
                                  การผลิต จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร พบวา ป 2558-2562
                  พื้นที่ยืนตนมีแนวโนมลดลงรอยละ 0.50 ตอป พื้นที่กรีดได ผลผลิตรวม และผลผลิตตอไรมีแนวโนม
                  เพิ่มขึ้นรอยละ 7.42 7.92 และ 0.44 ตอป ตามลําดับ (ตารางที่ 2-17)
                                  ตนทุนและผลตอบแทน การปลูกยางพาราในพื้นที่เหมาะสมมีตนทุนการผลิต

                  เฉลี่ยไรละ 12,011.73 บาท ผลผลิตเฉลี่ยไรละ 584.70 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ
                  18.54 บาท ผลตอบแทนเฉลี่ยไรละ 10,840.34 บาท และไดผลตอบแทนขาดทุนสุทธิไรละ 1,171.32 บาท
                  การปลูกยางพาราในพื้นที่ไมเหมาะสมมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยไรละ 12,534.02 บาท มีผลผลิตเฉลี่ยไรละ






                  แผนการใชที่ดินจังหวัดขอนแกน                                    กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44